Author Archives: admin

การรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

การรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

การรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

1 เม.ย.59 ได้อ่านประกาศโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย
เรื่อง การรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2559
เมื่อ 1 เมษายน 2559 พบแฟ้ม http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/regis1-2559.pdf
อ่านดูพบว่าประกาศรับสมัครนักเรียน
ประเภทห้องเรียนพิเศษ (วิทยาศาสตร์) 30 คน
ประเภทนักเรียนในเขตพื้นที่บริการ รับจำนวน 254 คน
ประเภทนักเรียนทั่วไป (ในเขต + นอกเขต) รับจำนวน 254 คน
ประเภทนักเรียนความสามารถพิเศษ 30 คน
ประเภทนักเรียนเงื่อนไขพิเศษ ไม่เกิน 47 คน
รวมทั้งสิ้น 615 คน
https://www.facebook.com/groups/thaiebook/606590036158485/

ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4 ปีการศึกษา 2559

เพื่อนที่ลำปางหลายท่านมีลูกมีหลานสอบเข้าโรงเรียนมัธยม ปีการศึกษา 2559
ทั้งมัธยมต้น และมัธยมปลาย ผมเข้าดูข้อมูลโรงเรียนประจำจังหวัดโรงเรียนหนึ่ง
คือ โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย ที่ http://www.bwc.ac.th
พบรายชื่อนักเรียนเข้าสอบ ม.4 สองร้อยกว่าคน
แต่ประกาศรับจริง รวม 71 คน ดังนี้
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 40 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ 12 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส, อังกฤษ-ภาษาเยอรมัน, อังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน 5 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาไทย-สังคมศึกษา 5 คน
http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/regis-4-2559.pdf

 

 

ผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4

ผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4

 

ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4 ปีการศึกษา 2559
เข้าถึงเมื่อ 1 เมษายน 2559
http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/test_student4-59.pdf
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 192 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ 9 คน + 30 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส 5 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาไทย-สังคมศึกษา 18 คน

รวม 272 คน แต่รับรวม 71 คน
คิดเป็นอัตราส่วน 3.8 คนต่อ 1

 

https://www.facebook.com/groups/thaiebook/606574459493376/

ตำนานอำเภอเถิน

ตำนานอำเภอเถิน
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– เมืองเถินจากอดีตสู่ปัจจุบัน
– ตำนานพระธาตุเจ้าวัดเวียง
– ประวัติวัดดอยป่าตาล
– ตำนานพระธาตุเจ้าม่อนวัวนอน (วัดดอยป่าตาล)
– ประวัติดอยป่าตาล
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเถิน

แผนที่อำเภอเถิน

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/thoen.htm

คำขวัญอำเภอเถิน
– ส้มเกลี้ยงฉ่ำ น้ำตกงาม โป่งข่ามขลัง วังหินอ่อน

พื้นที่
ประมาณ 1,854 ตารางกิโลเมตร
http://www.amphoe.com/menu.php?mid=1&am=553&pv=51

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
อยู่ในเขตร้อน มีป่าไม้ ทิวเขา และหุบเขา ฝนจะตกตั้งแต่ เมษายน-พฤศจิกายน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 878.16 มิลลิเมตร/ปี

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 8 แห่ง
– หมู่บ้าน 93 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม
– อาชีพเสริม ได้แก่ ค้าขาย รับจ้าง

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– น้ำตกแม่วะ
– น้ำตกแม่มอก
– ป่าแม่มอก
– ป่าแม่ปะ-แม่เลิม
– ป่าแม่อาบ

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม 63,942 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม 31,596 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 32,348 คน
– ความหนาแน่นของประชากร  34 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวเหนียว   ถั่วลิสง   ถั่วเขียว   หอม  กระเทียม
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่
1. แม่น้ำแม่วัง
2. ห้วยแม่ปะ
3. ห้วยแม่มอก
4. ห้วยแม่อาบ

ตำนานอำเภอห้างฉัตร

ตำนานอำเภอห้างฉัตร
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของชื่ออำเภอห้างฉัตร
– ตำนานวัดปงยางคก (ทิพย์ช้างอนุสรณ์)
– วิหารพระแม่เจ้าจามเทวี
– พญาเบิก ตำนานเจ้าพ่อขุนตาน
– ตำนานวัดพระธาตุปางม่วง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอห้างฉัตร

แผนที่อำเภอห้างฉัตร

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/hangchat.htm

คำขวัญอำเภอห้างฉัตร
ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย เกรียงไกรเจ้าพ่อขุนตาน ตำนานวิหารจามเทวี ของดีตลาดทุ่งเกวียน

พื้นที่  
ประมาณ 684.757 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เป็นแบบร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน เดือนตุลาคม ฝนตกชุกพอสมควร ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยปานกลาง ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพันธ์

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 7 แห่ง
– หมู่บ้าน 73 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่  อาชีพเกษตรกรรม  รับจ้างทั่วไปในโรงงาน
– อาชีพเสริม ได้แก่ อาชีพเสิรมในครัวเรือน การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– อุทยานแห่งชาติดอนขุนตาน
– สวนป่าทุ่งเกวียน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น   รวม  51,973 คน
– จำนวนประชากรชาย   รวม  25,535 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม  26,438 คน
– ความหนาแน่นของประชากร  78 คน/ตารางกิโลเมตร

ข้อมูลด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย ถั่วลิสง ผักปลอดสารพิษ
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่  ลำน้ำแม่ตาล  ลำน้ำแม่ไพร่  ลำน้ำแม่ยาว

ตำบลแม่สัน
– อ่างเก็บน้ำแม่ยาว พื้นที่รับน้ำ 3,750 ไร่ พื้นที่รับประโยชน์ ตำบลแม่สัน, ตำบลเมืองยาว ตำบลวอแก้ว
– อ่างเก็บน้ำแม่ไพร พื้นที่รับน้ำ 1,400 ไร่ พื้นที่รับประโยชน์ ตำบลวอแก้ว ตำบลปงยางคก

ตำบลปงยางคก
– อาศัยแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น ห้วยแม่ตาล, ห้วยแม่วัก, ห้วยแม่ฮาว, คลองแม่น้อย

ตำบลเวียงตาล
– อ่างเก็บน้ำห้วยเรียน พื้นที่รับน้ำ 2,500 ไร่
– อ่างเก็บน้ำปางปง พื้นที่รับน้ำ 250 ไร่
– อ่างเก็บน้ำแม่ตาลน้อย พื้นที่รับน้ำ 370 ไร่
– อ่างเก็บน้ำห้วยแม่สัน พื้นที่รับน้ำ 950 ไร่

ตำบลหนองหล่ม
– ห้วยแม่ไพร พื้นที่รับน้ำ 8,514 ไร่
– ห้วยแม่ยิ่ง พื้นที่รับน้ำ 615 ไร่
– ห้วยแม่ติ๊บ พื้นที่รับน้ำ 635 ไร่

ตำบลเมืองยาว
– อ่างเก็บน้ำแม่ยาว พื้นที่รับน้ำ 2,250 ไร่

ตำบลห้างฉัตร
– อ่างเก็บน้ำห้วยลวด พื้นที่รับน้ำ 100 ไร่

ตำนานอำเภอเสริมงาม

ตำนานอำเภอเสริมงาม
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานอำเภอเสริมงาม
– ตำนานวัดหลวงนางอย
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเสริมงาม

แผนที่อำเภอเสริมงาม

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/sreamngam.htm

คำขวัญอำเภอเสริมงาม
ศูนย์ศิลปาชีพบ้านแม่ต๋ำ เลิศล้ำถ้ำผากาน คู่บ้านวัดนางอย งามชดช้อยผ้าทอ เพียงพอเกษตรกรรม น้ำใจงามคนเมืองเสริม

พื้นที่
ประมาณ 631.727 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู คือ ร้อน ฝน และหนาว

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 4 แห่ง
– หมู่บ้าน 42 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ การทำนา   การทำสวน   การทำไร่/เลี้ยงสัตว์
– อาชีพเสริม ได้แก่ หัตถกรรมผ้าทอ   ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป   ผลิตภัณฑ์ไม้

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– ป่าไม้
– ภูเขา
– แม่น้ำ

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 32,774 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 16,737 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 16,037 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 52 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่  กระเทียม   ข้าว   อ้อย  ถั่วลิสง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่   แม่น้ำเสริม  แม่น้ำต๋ำ   แม่น้ำเลียง  แม่น้ำลา

ตำนานอำเภอสบปราบ

ตำนานอำเภอสบปราบ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ย้อนรอย – วัฒนธรรม บรรพชนคนแม่ยอง – นาไม้แดง
– ตำนานวัดนายาง “สมภารตนบุญวัดนายาง กู้เมืองลำปาง” อ.สบปราบ
– ย้อนอดีต นักรบผู้เก่งกล้า “สมภารต๋นบุญนายาง”
– เจ้าพ่อประตูผา
– เรื่องเล่าบนเส้นทางแห่งตำนาน “ขุนเขาดอยจง”
– ตำนาน โบราณสถานศักดิ์สิทธิ์ “บ่อโข้ง”
– ตำนานพระพุทธบาทบ่อโข้ง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอสบปราบ

แผนที่อำเภอสบปราบ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/sopprab.htm

คำขวัญอำเภอสบปราบ
อุทยานดอยจง มั่นคงวัฒนธรรม งามล้ำน้ำตกแม่ไซงู เชิดชูบ่อน้ำทิพย์ อ่างนับสิบรอบเมือง ฟูเฟื่องเรื่องดินขาว พร่างพราวปลาหลากพันธุ์

พื้นที่
ประมาณ 502.46 ตารางกิโลเมตร
http://www.amphoe.com

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
อากาศร้อนและแห้งแล้ง ในฤดูร้อน อากาศหนาวในฤดูหนาว

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 4 แห่ง
– หมู่บ้าน 42 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ อาชีพด้านการเกษตรกรรม   เลี้ยงสัตว์
– อาชีพเสริม ได้แก่ กลุ่มอาชีพต่างๆ ในพื้นที่ เช่น ทอผ้า  ทำไข่เค็ม  ถั่วสมุนไพร ฯลฯ

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– ดินขาว
– ป่าไม้

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 28,487 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 14,107 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 14,380 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 57.30 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   อ้อย   ถั่วลิสง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่   น้ำแม่ปราบ   แม่น้ำวัง

ตำนานอำเภอวังเหนือ

ตำนานอำเภอวังเหนือ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของอำเภอวังเหนือ
– เจ้าพ่อพญาวัง เจ้าเมืองพระองค์แรกและพระองค์เดียงแห่งเมืองวัง
– ตำนานวัดพระเกิด
– วัดเวียงกาหลง
– ประวัติหมู่บ้านสบลืน และประวัติวัดสบลืน
– บ้านก่อ ช้างเผือกเมืองลำปาง
– ประวัติ/ความสำคัญของวัดบ้านก่อ
– ประวัติโดยย่อ หลวงพ่อคำป้อ นามสกุล อุดหนุน
– ตำนาน “หงษ์หิน”
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอวังเหนือ

แผนที่อำเภอวังเหนือ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/wangnua.htm

คำขวัญอำเภอวังเหนือ
พญาวังเรืองนาม พระธาตุงามเรื่องชื่อ น้ำตกสวนเลื่องลือ นามนี้คือวังเหนือ

พื้นที่
ประมาณ 1,035 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฝน  หนาว และร้อน

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 8 แห่ง
– หมู่บ้าน 79  แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำการเกษตร อาทิ  ทำนา  ทำไร่  ทำสวน
– อาชีพเสริม ได้แก่ ทอผ้า  รับจ้าง   ค้าขาย   ปักผ้าชาวเขา   ไม้แกะสลัก

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แร่ดินขาว
– แร่บอลเคลย์

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม 42,349 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม 21,556 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 20,793 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 6.5 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ  ได้แก่ ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์   ข้าวเหนียว   ถั่วเหลือง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1. แม่น้ำวัง
2. แม่น้ำหีด

ตำนานอำเภอแม่เมาะ

ตำนานอำเภอแม่เมาะ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของอำเภอแม่เมาะ
– ตำนานเจ้าพ่อประตูผา หรือ พญาข้อมือเหล็ก
– ตำนานดอยผาช้าง
– ถ้ำเทพสถิตย์
– ถ้ำผาโง้ม
– ถ้ำดอยน้อย
– ถ้ำดอยงู
– บ้านห้วยเป็ด
– แผ่นดินหวิด
– ศาลหลักเมือง
– วัดเมาะหลวง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่เมาะ

แผนที่อำเภอแม่เมาะ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maemo.htm

คำขวัญอำเภอแม่เมาะ
ถ้ำอินทร์เนรมิต แหล่งผลิตไฟฟ้า ถ่านหินล้ำค่า เจ้าพ่อประตูผา สวนป่าสักทอง

พื้นที่
ประมาณ 860.44 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ค่อนข้างอบอ้าวและหนาวจัดในฤดูหนาว มีฝนตกน้อย

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล  5 แห่ง
– หมู่บ้าน  42 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ รับจ้าง การเกษตร
– อาชีพเสริม ได้แก่ ค้าขาย

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สำคัญของอำเภอ ได้แก่ ถ่านหินลิกไนต์ หินปูน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 38,776 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 19,625 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 19,151 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 45.02 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์  อ้อย  ข้าว
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่
1 อ่างเก็บน้ำแม่จาง
2 อ่างเก็บน้ำแม่ขาม
3 น้ำแม่จาง

ตำนานอำเภอแม่พริก

ตำนานอำเภอแม่พริก
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของอำเภอแม่พริก
– ภูมิปัญญาชาวบ้านสมัยโบราณ
– ประวัติพระมหาธาตุเจดีย์ 12 ราศี
– ตำนานวัดผาปังกลาง
– ตำนานวัดพระพุทธบาทวังตวง
– ตำนานห้วยขี้ .. ที่ผาปัง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่พริก

แผนที่อำเภอแม่พริก

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maeprik.htm

คำขวัญอำเภอแม่พริก
สวนส้มเกลี้ยงลือไกล ถิ่นลำไยไร้สารพิษ ถ้ำน้ำผ่างามวิจิตร เมืองเศรษฐกิจชุมชน

พื้นที่
ประมาณ 538.921 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เนื่องจากสภาพพื้นที่มีภูเขาล้อมรอบ ฤดูร้อนอากาศร้อนอบอ้าว ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็น ฤดูหนาว (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน (มีนาคม – พฤษภาคม ) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 4  แห่ง
– หมู่บ้าน 28 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนา  ทำไร่  เลี้ยงสัตว์
– อาชีพเสริม ได้แก่ ปลูกพืชฤดูแล้ง  หาของป่า

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
ได้แก่  ทรัพยากรป่าไม้

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น   รวม 17,389 คน
– จำนวนประชากรชาย   รวม 8,611 คน
– จำนวนประชากรหญิง   รวม 8,778 คน
– ความหนาแน่นของประชากร   32.27 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   ลำไย   ส้มเกลี้ยง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่  แม่น้ำวัง