Tag Archives: lampang

ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4 ปีการศึกษา 2559

เพื่อนที่ลำปางหลายท่านมีลูกมีหลานสอบเข้าโรงเรียนมัธยม ปีการศึกษา 2559
ทั้งมัธยมต้น และมัธยมปลาย ผมเข้าดูข้อมูลโรงเรียนประจำจังหวัดโรงเรียนหนึ่ง
คือ โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย ที่ http://www.bwc.ac.th
พบรายชื่อนักเรียนเข้าสอบ ม.4 สองร้อยกว่าคน
แต่ประกาศรับจริง รวม 71 คน ดังนี้
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 40 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ 12 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส, อังกฤษ-ภาษาเยอรมัน, อังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน 5 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาไทย-สังคมศึกษา 5 คน
http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/regis-4-2559.pdf

 

 

ผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4

ผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4

 

ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4 ปีการศึกษา 2559
เข้าถึงเมื่อ 1 เมษายน 2559
http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/test_student4-59.pdf
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 192 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ 9 คน + 30 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส 5 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาไทย-สังคมศึกษา 18 คน

รวม 272 คน แต่รับรวม 71 คน
คิดเป็นอัตราส่วน 3.8 คนต่อ 1

 

https://www.facebook.com/groups/thaiebook/606574459493376/

ตำนานอำเภอเถิน

ตำนานอำเภอเถิน
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– เมืองเถินจากอดีตสู่ปัจจุบัน
– ตำนานพระธาตุเจ้าวัดเวียง
– ประวัติวัดดอยป่าตาล
– ตำนานพระธาตุเจ้าม่อนวัวนอน (วัดดอยป่าตาล)
– ประวัติดอยป่าตาล
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเถิน

แผนที่อำเภอเถิน

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/thoen.htm

คำขวัญอำเภอเถิน
– ส้มเกลี้ยงฉ่ำ น้ำตกงาม โป่งข่ามขลัง วังหินอ่อน

พื้นที่
ประมาณ 1,854 ตารางกิโลเมตร
http://www.amphoe.com/menu.php?mid=1&am=553&pv=51

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
อยู่ในเขตร้อน มีป่าไม้ ทิวเขา และหุบเขา ฝนจะตกตั้งแต่ เมษายน-พฤศจิกายน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 878.16 มิลลิเมตร/ปี

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 8 แห่ง
– หมู่บ้าน 93 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม
– อาชีพเสริม ได้แก่ ค้าขาย รับจ้าง

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– น้ำตกแม่วะ
– น้ำตกแม่มอก
– ป่าแม่มอก
– ป่าแม่ปะ-แม่เลิม
– ป่าแม่อาบ

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม 63,942 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม 31,596 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 32,348 คน
– ความหนาแน่นของประชากร  34 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวเหนียว   ถั่วลิสง   ถั่วเขียว   หอม  กระเทียม
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่
1. แม่น้ำแม่วัง
2. ห้วยแม่ปะ
3. ห้วยแม่มอก
4. ห้วยแม่อาบ

ตำนานอำเภอห้างฉัตร

ตำนานอำเภอห้างฉัตร
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของชื่ออำเภอห้างฉัตร
– ตำนานวัดปงยางคก (ทิพย์ช้างอนุสรณ์)
– วิหารพระแม่เจ้าจามเทวี
– พญาเบิก ตำนานเจ้าพ่อขุนตาน
– ตำนานวัดพระธาตุปางม่วง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอห้างฉัตร

แผนที่อำเภอห้างฉัตร

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/hangchat.htm

คำขวัญอำเภอห้างฉัตร
ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย เกรียงไกรเจ้าพ่อขุนตาน ตำนานวิหารจามเทวี ของดีตลาดทุ่งเกวียน

พื้นที่  
ประมาณ 684.757 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เป็นแบบร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน เดือนตุลาคม ฝนตกชุกพอสมควร ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยปานกลาง ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพันธ์

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 7 แห่ง
– หมู่บ้าน 73 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่  อาชีพเกษตรกรรม  รับจ้างทั่วไปในโรงงาน
– อาชีพเสริม ได้แก่ อาชีพเสิรมในครัวเรือน การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– อุทยานแห่งชาติดอนขุนตาน
– สวนป่าทุ่งเกวียน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น   รวม  51,973 คน
– จำนวนประชากรชาย   รวม  25,535 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม  26,438 คน
– ความหนาแน่นของประชากร  78 คน/ตารางกิโลเมตร

ข้อมูลด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย ถั่วลิสง ผักปลอดสารพิษ
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่  ลำน้ำแม่ตาล  ลำน้ำแม่ไพร่  ลำน้ำแม่ยาว

ตำบลแม่สัน
– อ่างเก็บน้ำแม่ยาว พื้นที่รับน้ำ 3,750 ไร่ พื้นที่รับประโยชน์ ตำบลแม่สัน, ตำบลเมืองยาว ตำบลวอแก้ว
– อ่างเก็บน้ำแม่ไพร พื้นที่รับน้ำ 1,400 ไร่ พื้นที่รับประโยชน์ ตำบลวอแก้ว ตำบลปงยางคก

ตำบลปงยางคก
– อาศัยแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น ห้วยแม่ตาล, ห้วยแม่วัก, ห้วยแม่ฮาว, คลองแม่น้อย

ตำบลเวียงตาล
– อ่างเก็บน้ำห้วยเรียน พื้นที่รับน้ำ 2,500 ไร่
– อ่างเก็บน้ำปางปง พื้นที่รับน้ำ 250 ไร่
– อ่างเก็บน้ำแม่ตาลน้อย พื้นที่รับน้ำ 370 ไร่
– อ่างเก็บน้ำห้วยแม่สัน พื้นที่รับน้ำ 950 ไร่

ตำบลหนองหล่ม
– ห้วยแม่ไพร พื้นที่รับน้ำ 8,514 ไร่
– ห้วยแม่ยิ่ง พื้นที่รับน้ำ 615 ไร่
– ห้วยแม่ติ๊บ พื้นที่รับน้ำ 635 ไร่

ตำบลเมืองยาว
– อ่างเก็บน้ำแม่ยาว พื้นที่รับน้ำ 2,250 ไร่

ตำบลห้างฉัตร
– อ่างเก็บน้ำห้วยลวด พื้นที่รับน้ำ 100 ไร่

ตำนานอำเภอแม่ทะ

ตำนานอำเภอแม่ทะ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาอำเภอแม่ทะ
– พ่อหนานอินถา
– หนานอินถานายาบ
– พ่อเจ้าติ๊บปาละ (สามขา)
– ความเป็นมาของหมู่บ้านสามขา
– ตำนานพระเจ้าไม้แก่นจันทน์
– ตำนานพระเจ้าทันใจสองพี่น้อง วัดดอนไฟ
– ตำนานวัดดอยม่วงคำ กับนิทานพื้นบ้าน “หมาขนคำ”
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่ทะ

แผนที่อำเภอแม่ทะ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maetha.htm

คำขวัญอำเภอแม่ทะ
ลำน้ำจางหล่อเลี้ยงเศรษฐกิจ พุทธรูปศักดิ์สิทธิ์พระไม้แก่นจันทน์ สินแร่สำคัญถ่านหินดินขาว อาชีพยืนยาวไม้แกะสลัก แหล่งประจักษ์ธรรมถ้ำพระสบาย

พื้นที่
ประมาณ 810.543 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
แบบมรสุม

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 10 แห่ง
– หมู่บ้าน 93 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม   รับจ้าง   ปลูกพืชไร่
– อาชีพเสริม ได้แก่ การเลี้ยงสัตว์

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สำคัญของอำเภอ  ได้แก่   ดินขาว   ถ่านหินลิกไนท์

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 62,859 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 31,481 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 31,378 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 77.55 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   อ้อย   มะเขือเทศ
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่  ลำน้ำจาง

ตำนานอำเภอเมืองปาน

ตำนานอำเภอเมืองปาน
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเมืองปาน
– ตำนานพระธาตุวงตา
– ตำนานวัดพระธาตุดอยเต่าคำ
– ตำนานพระธาตุดอยซาง หรือภูซาง
– ตำนานบ้านทุ่งส้าน
– ตำนานพระธาตุจอมก้อย
– ตำนานพระพุทธเจ้าดอกสาน
– ประวัติพระพุทธเจ้าดอกสาน (พระนอนองค์ใหญ่)
– ประวัติการสร้างพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ และศาลาพุทธธรรม
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเมืองปาน

แผนที่อำเภอเมืองปาน

 

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/muangpan.htm

คำขวัญอำเภอเมืองปาน
แหล่งต้นน้ำลำธาร อุทยานแจ้ซ้อน บ่อน้ำร้อนลือนาม สามต้นสักใหญ่ ไหว้พระธาตุดอยซาง

พื้นที่
ประมาณ 865.103 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
มี 3 ฤดู ฤดูหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 6 องศา(พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน อุณหภูมิสูงสุด 36 องศา (มีนาคม– พฤษภาคม ) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 5 แห่ง
– หมู่บ้าน 55 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนา
– อาชีพเสริม ได้แก่ ทำสวน ทำไร่

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 34,453 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 17,350 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 17,103 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 39.505 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ  ได้แก่ ข้าว  อ้อย  ข้าวโพดฝักอ่อน / เลี้ยงสัตว์
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 น้ำแม่เต๊าะ-แม่ต๋อม
2 น้ำแม่สอย
3 น้ำแม่มอน
4 น้ำแม่ปาน
5 น้ำแม่ก๋วม
6 น้ำแม่บอม
7 น้ำแม่ตุ๋ย
8 น้ำแม่นึง

ตำนานอำเภอเมือง

ตำนานอำเภอเมือง
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเขลางค์นคร ยุคเริ่มสร้าง
– ตำนานพระนางจามเทวี
– เรื่องเล่าชุมชนบ้านวังหม้อ
– ตำนานวัดเจดีย์ซาว
– ประวัติพระเจ้าแสนแซ่ทองคำประดิษฐาน ณ วัดพระเจดีย์ซาวหลัง จังหวัดลำปาง
– ประวัติพระพุทธรูป “พระเจ้าแสนแซ่ทองคำ”
– ตำนานพระธาตุแก้วดอนเต้า
– วัดพระแก้วดอนเต้า นครลำปาง
– ตำนานวัดม่อนพญาแช่
– ตำนานวัดศรีล้อม
– ตำนานต้นศรีมหาโพธิ์
– ศาลเจ้าพ่อมหายักษ์สามพันตน
– วัดพระธาตุเสด็จ
– วัดพระธาตุม่อนจำศีล นครลำปาง
– ตำนานสำนักปฏิบัติธรรมวัดเวียงทอง (วังบัวตอง)
– ตำนานวัดม่อนปู่ยักษ์
– ความเป็นมาชุมชนบ้านปงสนุก
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเมือง

แผนที่อำเภอเมือง

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/muang.htm

คำขวัญอำเภอเมืองลำปาง
ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก

พื้นที่
ประมาณ 1,156 ตารางกิโลเมตร
http://www.amphoe.com/menu.php?am=546&pv=51&mid=1

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำระหว่าง 10 – 12 องศา ฤดูร้อน (มีนาคม – มิถุนายน) อุณหภูมิ 35 – 43 องศา ฤดูฝน (เริ่มเดือน กรกฎาคม – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 15 แห่ง
– หมู่บ้าน 176 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก   การเกษตร ได้แก่การปลูกข้าวเหนียว  อ้อย  ถั่วเหลือง และสัปปะรด
– อาชีพเสริม   เลี้ยงสัตว์  ได้แก่  โค  กระบือ  ไก่  เป็ด  และสุกร

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แม่น้ำวัง
– แม่น้ำตุ๋ย
– ทรัพยากรแร่  ได้แก่  แร่พลวง  ดินขาว  แร่ดินเบา
– ทรัพยากรป่าไม้  ได้แก่  ไม้สัก  ไม้เต็ง  ไม้รัง  ไม้แดง  ไม้ประดู่

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 234,782 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 114,202 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 120,580 คน
– ความหนาแน่นของประชากร – คน/ตร.กม.

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวเหนียว,อ้อย ,ถั่วเหลือง,สัปปะรด
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 แม่น้ำวัง
2 แม่น้ำตุ๋ย
3 เขื่อนกิ่วลม
4 เขื่อนยาง

ตำนานอำเภอแจ้ห่ม

ตำนานอำเภอแจ้ห่ม
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเมืองแจ้ห่มกับเจ้าพ่อพญาคำลือและชาติพันธุ์ดั้งเดิม
– วัดอักโขชัยคีรี
– ตำนานวัดอักโขชัยคีรี
– ตำนานม่อนก๋องข้าว
– ตำนานรอยพระพุทธบาทห้วยลูด
– ตำนานวัดดงนั่งคีรีชัย ตำบลวิเชตนคร แจ้ห่ม ลำปาง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแจ้ห่ม

แผนที่อำเภอแจ้ห่ม

ข้อมูลจาก
http://ldslpg.org/structure/jaehom.htm

คำขวัญอำเภอแจ้ห่ม   
พญาคำลือคู่บ้าน มะขามหวานคู่เมือง เงาพระธาตุลือเลื่อง เมืองน้ำปูดี

พื้นที่
ประมาณ 1,349.121 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา มีป่าไม้ล้อมรอบ มีที่ราบลุ่มบริเวณ ที่ราบใกล้แม่น้ำเป็นบางส่วน มีพื้นที่ป่าไม้ประมาณร้อยละ 76 ของพื้นที่ทั้งหมด มีพื้นที่ภูเขาครอบคลุมโดยรอบของพื้นที่อำเภอ

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 7 แห่ง
– หมู่บ้าน 62 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป ค้าขาย
– อาชีพเสริม ได้แก่ การทำผักกาดดอง การแปรรูปใบยาสูบ การทำหัตถกรรมในครัวเรือน

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– ป่าไม้
– แม่น้ำวัง แม่น้ำสอย แม่น้ำมอญ
– แร่หินปูน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม  38,476 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม  19,273 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 19,203 คน
– ความหนาแน่นของประชากร  29 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ผักกาดเขียวปลี ใบยาสูบ
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 แม่น้ำวัง
2 แม่น้ำสอย
3 แม่น้ำมอญ

ตำนานอำเภองาว

ตำนานอำเภองาว
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานอำเภองาว
– ตำนานวัดม่อนทรายนอน อำเภองาว จังหวัดลำปาง
– ตำนานเจ้าแม่สรรพกิจ (สัปปะกิ) – ตุงซาววาเมืองง้าวเงิน
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภองาว

แผนที่อำเภองาว

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/ngao.htm

คำขวัญอำเภองาว
หนึ่งในสยามคือถ้ำผาไท ศูนย์รวมจิตใจเจ้าพ่อประตูผา เครื่องหนังงามตา ล้ำค่าไม้แกะสลัก อนุรักษ์วัฒนธรรม งามล้ำอำเภองาว

พื้นที่
ประมาณ 1,815.313 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เป็นเขตร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 10 แห่ง
– หมู่บ้าน 84 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ การทำเกษตรกรรม (ปลูกข้าว)
– อาชีพเสริม ได้แก่ ปลูกกระเทียม   ปลูกข้าวโพด

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
– ที่สำคัญของอำเภอ ป่าไม้ของอำเภองาว 940,000 ไร่
– แร่ดินขาว อยู่ที่ ต.บ้านหวด
– แร่ลิกไนท์ อยู่ที่ ต.แม่ตีบ

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 58,827 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 29,398 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 17,471 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 30 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว  กระเทียม  ข้าวโพด
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่   แม่น้ำงาว

ตำนานอำเภอเกาะคา

ตำนานอำเภอเกาะคา
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาอำเภอเกาะคา
– ประวัติการสร้างเมืองลำปาง – ตำนานพระนางจามเทวี เกี่ยวข้องกับพระธาตุลำปางหลวง
– ภูมิหลังเมืองลำปางกับตำนานพระธาตุลำปางหลวง
– ตำนานวัดไหล่หินหลวง
– ตำนานพระธาตุจอมพิงค์ชัยมงคล (พระธาตุจอมปิง)
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเกาะคา

แผนที่อำเภอเกาะคา

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/koka.htm

คำขวัญอำเภอเกาะคา
พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ แหล่งผลิตน้ำตาลทราย สวดลายงามเครื่องปั้น จักสานเครื่องใช้ อุ่นไอบ่อน้ำร้อน ลือกระฉ่อนมนุษย์เกาะคา

พื้นที่
ประมาณ 551.152 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
แบบมรสุม มี 3 ฤดู ฤดูร้อน (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม) ฤดูหนาว (พฤศจิกายน – มกราคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 9 แห่ง
– หมู่บ้าน 77  แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ด้านเกษตร  รับจ้างทั่วไป
– อาชีพเสริม ได้แก่ อุตสาหกรรมในครัวเรือน/โรงงานเซรามิคส์กว่า 50 โรง

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แร่ฟอสเฟต  ที่ตั้ง บ้านหาดปู่ด้าย ม. 1 ตำบลนาแส่ง
– ปูนขาว ที่ตั้ง บ้านทุ่งขาม ม.6 ต.ใหม่พัฒนา

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม 63,554 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม 30,990 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 32,564 คน

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว  อ้อย  ถั่วเหลือง  ถั่วลิสง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 ลำน้ำวัง ความยาว 42 กม.
2 ลำน้ำยาว ความยาว 18 กม.
3 ลำน้ำจาง ความยาว 8 กม.