Tag Archives: km

ไปตัดผมทีไร นั่งอ่านนิตยสารทุกที

Nim magazine

Nim magazine

วันนี้ไปนั่งรอตัดผมที่กาดเกาะคา
อยู่ในซอยหน้าตลาด เข้าไปราว 10 เมตร
ไปถึงก็นั่งรอ และได้อ่าน NIM Magazine
ปีที่ 15 ฉบับ เมษายน 2559
พบ คอลัม พนักงานเล่าสู่กันฟัง
ชอบคำว่า “เวลาเจอปัญหา
ให้บอกกับตัวเองว่า
นี่คือบทเรียนที่จะสร้างปัญญา”
เขียนโดย คุณสรินยา หล้าติ๊บ
ถือว่าเป็นการจัดการความรู้ (KM) ที่แชร์ออกสื่อ
เชื่อได้ว่าในองค์กรนี้
ต้องมีการจัดการความรู้หลายระดับ
เพื่อให้เกิดการพัฒนาบุคคล (PKM)
หน่วยงาน สาขา และบริษัทเป็นลำดับ
ที่เห็นคือนิตยสารของบริษัท
ที่ถือเป็น CSR (Corporate Social Responsibility) ขององค์กร
นิตยสารมีการแจกทั่วไป (Free copy)
ผมเห็นทั้งที่ร้านอาหาร และร้านตัดผม
เห็นทีไรก็อ่าน และอยากหยิบมาเขียน blog ทุกที

http://www.thaiall.com/communication/news.htm

สรุปว่า ค่าหัวผม รองทรง 60 บาทครับ
พร้อมนิตยสารอ่านฟรีระหว่างรอคิว (Queue)

รวมภาพ .. โครงการประมวลความรู้ 6 ปีวิชาการเพื่อท้องถิ่น

ประมวลความรู้ 6 ปีวิชาการเพื่อท้องถิ่น

ประมวลความรู้ 6 ปีวิชาการเพื่อท้องถิ่น

ประมวลรูปภาพ 20 กว่าโครงการตลอด 6 ปีวิชาการเพื่อท้องถิ่น
แยกรายโครงการดังนี้

ประมวลความรู้ 6 ปีวิชาการเพื่อท้องถิ่น
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.724680400879427.1073741872.506818005999002

หกปี ยุค 1 โจทย์จากชุมชน
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769067933107340.1073741901.506818005999002

หกปี ยุค 2 ทดลองทำงานกับนักวิชาการ
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769078463106287.1073741902.506818005999002

หกปี ยุค 3 สร้างกลไกการเปลี่ยนแปลง
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769097459771054.1073741903.506818005999002

1.RDG53N0021 สุขภาวะบ้านดง แม่เมาะ

2.RDG54N0009 น้ำบ้านดงแม่เมาะ
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761660470514753.1073741881.506818005999002

3.RDG55N0022เห็ดปงยางคก
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761662793847854.1073741882.506818005999002

4.RDG55N0015 กศน.ภูซาง
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761669110513889.1073741884.506818005999002

5.RDG56N011บ้านเหล่าพะเยา
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761669857180481.1073741885.506818005999002

6.RDG54N0014พุทรา1แพร่
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761670663847067.1073741886.506818005999002

7.RDG55N0019 พุทรา2แพร่
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761671193847014.1073741887.506818005999002

8.RDG50N0037 ขยะนาบอน
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769205216426945.1073741908.506818005999002

9.RDG52N0010สิ่งเสพติดนิคม
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761671637180303.1073741888.506818005999002

10.RDG51N0008ผ้าทอเมืองปาน
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761672203846913.1073741889.506818005999002

11.RDG52N0012 ผักบ้านจำ
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769202473093886.1073741907.506818005999002

12.RDG52N0013 ผักแม่ตาน
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769201923093941.1073741906.506818005999002

13.PDG52N0013สื่อไหล่หิน
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761672767180190.1073741890.506818005999002

14.RDG52N0014 สารสนเทศศรีดอนมูล
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769221159758684.1073741909.506818005999002

15.PDG52N0011 ป่าชุมชนแม่กึ๊ด
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761673207180146.1073741891.506818005999002

16.PDG52N0012 แมงปู้ชมดวง
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761673510513449.1073741892.506818005999002

18.RDG55N0010 บูรณาการตำนานมูลศาสนา
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769197273094406.1073741905.506818005999002

19.RDG54N0018 การจัดการความรู้
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761673977180069.1073741893.506818005999002

20.RDG50N0033โคมวังหม้อ
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761674440513356.1073741894.506818005999002

21.RDG52N0003 ปริวรรตตำนานมูลศาสนา
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761674737179993.1073741895.506818005999002

22.RDG53N0012 ปงสนุก
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761675250513275.1073741896.506818005999002

23.RDG54N0008 กลุ่มฮ่วมใจ๋แม่ทะ
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761675770513223.1073741897.506818005999002

24.RDG51N0006 น้ำดื่มบ้านสา
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761676120513188.1073741898.506818005999002

25.RDG53N0024 เศรษฐกิจพอเพียงแม่ทะ
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761676497179817.1073741899.506818005999002

26.RDG54N0006 ม.ลำปาง
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.761676820513118.1073741900.506818005999002

การจัดการงานศพบ้านไหล่หิน
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769233606424106.1073741912.506818005999002

บ้านท่ากลางท่าใต้
https://www.facebook.com/media/set/?set=a.769234729757327.1073741913.506818005999002

การจัดการความรู้จังหวัดลำปาง

การจัดการความรู้จังหวัดลำปาง

km lampang

km lampang

 

กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสารจังหวัดลำปาง
รวบรวมเอกสาร การจัดการความรู้จังหวัดลำปาง (KM) ไว้ปีละหลายเรื่อง

http://www.lampang.go.th/db_lap/km/

ปี 2554
– การพัฒนาตลาดสับปะรด (สนง.สหกรณ์จังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_54_pineapple_kmstep.pdf
– การจัดทำแนวกันไฟแบบป่าเปียก (สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_54_wet_forest_info_kmstep.pdf
– การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้วัสดุเศษหินจากกระบวนการผลิตครกหินฯ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_54_design_stone_summary_working.pdf

ปี 2553
– การจัดการขยะชุมชน (สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_53_garbage_fullreport.pdf
– การเพาะเลี้ยงปลาบึก (สนง.ประมงจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_53_fish_fullreport.pdf
– การปลูกผักปลอดสารพิษ (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_53_vegetable_brochure.pdf
– การปลูกข้าวโดยวิธีโยนกล้า (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_53_rice_brochure.pdf
– ประโยชน์น้ำส้มควันไว้ PV (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_53_wood_vinegar_howto.pdf

ปี 2552
– การสร้างบ่อหมักก๊าซชีวภาพแบบถุงหมักพีวีซี (สนง.ปศุสัตว์จังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_52_gas_howto.pdf
– การเพาะเลี้ยงอึ่ง (สนง.ประมงจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_52_frog_poster.pdf
– การเลี้ยงหมูหลุม (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_52_pig_brochure.pdf
– การอนุบาลลูกไก่พื้นเมือง (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_52_chicken_brochure.pdf
– เครื่องหยอดปุ๋ย (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_52_fertilizer_brochure.pdf
– การเลี้ยงหนองนก/จิ้งหรีด (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_52_worm_ppt.pdf
– ไผ่ชุมชน (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_52_bamboo_ppt.pdf

ปี 2551
– การแปรรูปอาหาร (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_51_food_processing_brochure.pdf
– การผลิตเสบียงสัตว์ (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_51_animal_food_proposal.pdf
– การบริหารกลุ่มวิสาหกิจชุมชน (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_51_enterprise_community_brochure.pdf
– การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้กับแกนนำเครือข่ายภาคประชาชน เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” (สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_51_happy_village_report.pdf

ปี 2550
– การปรับปรุงบำรุงดิน (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_50_soil_howto.pdf
– เทคนิคการตัดแต่งกิ่งกาแฟ  (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_50_coffee_brochure.pdf
– เทคนิคการผลิตสับปะรด  (สนง.เกษตรจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_50_pineapple_howto.pdf
– กระบวนการเรียนรู้ผู้นำเครือข่าย  (สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัดลำปาง)
http://www.thainame.net/km/km_50_leader_report.pdf

ข้อมูลทั้งหมดจาก http://www.lampang.go.th/db_lap/km/

แล้วเผยแพร่ที่ http://www.thaiall.com/km/indexo.html

ข้อค้นพบจากการดำเนินงาน ระยะที่ 2 กรกฎาคม 2554 – ธันวาคม 2554

การวิจัยเพื่อท้องถิ่น ที่ บ้านร่มเย็น หมู่ 8 ต.นิคมพัฒนา อ.เมือง จ.ลำปาง

 

          การเข้าศึกษาชุมชนในระยะที่สอง มุ่งค้นหาปัญหาที่แท้จริงที่ชุมชนต้องการแก้ไข เป็นการต่อยอดจากที่เคยศึกษาร่วมกับผู้นำชุมชนในระดับตำบล ซึ่งชุมชนบ้านร่มเย็น ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ประกอบด้วยคนหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีหลายบทบาท ที่เกิดจากปัจจัยแวดล้อมที่แตกต่างกันทั้งการศึกษา ฐานะ อาชีพ อายุ ความเป็นมา และความเข้มแข็งในครอบครัว การศึกษาบริบทพื้นฐานของชุมชน จึงเป็นสิ่งจำเป็นและการลงพื้นที่ในระยะที่ 2 ทีมวิจัยเลือกพื้นที่คือบ้านร่วมเย็น หมู่ 8 เพราะสนใจประเด็นด้านการเกษตรพันธสัญญา แต่เมื่อเข้าไปเรียนรู้ในพื้นที่ พบว่า ชุมชนนี้มิได้ทำเกษตรพันธสัญญา แต่มีที่ดินของหมู่บ้านที่เรียกว่า นารวม หลังเรียนรู้ร่วมกันไประยะหนึ่งทีมวิจัยมีโอกาสเข้าไปสร้างสัมพันธ์กับชุมชนผ่านกิจกรรมเกี่ยวข้าว และตีข้าว โดยการบูรณาการกับการเรียนการสอนที่นำนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุข และอาจารย์ จากมหาวิทยาลัยเนชั่น เข้าไปร่วมเรียนรู้ และตีข้าวกับคนในชุมชน ซึ่งเป็นกิจกรรมอาสาของชุมชนที่มีคนจากนอกชุมชนเข้าไปร่วมกิจกรรมมากที่สุดเป็นครั้งแรก

          เมื่อลงพื้นที่ และศึกษาบริบทของชุมชนก็มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้ในแต่ละครั้งตามแผน และข้อมูลที่ได้จากแต่ละเวทีก่อนหน้านี้ ในบางครั้งการลงพื้นที่เก็บข้อมูลก็พบประเด็นที่จำเป็นต้องนำกลับมาคุยกันในทีมวิจัย ก็เลือกหารือกันที่วัดบุญวาทย์วิหาร เพราะเป็นศูนย์รวมจิตใจ และศูนย์กลางของจังหวัดที่นักวิจัยสะดวกในการเข้าไปประชุมร่วมกันหลังเลิกงาน แล้วพูดคุยกันหาข้อสรุป ใช้เวลากันตั้งแต่พระอาทิตย์ยังไม่ตกถึงห้าทุ่มหลายครั้ง

          เครื่องมือใหม่ถูกนำมาใช้ ผ่านคำแนะนำของทีมใหญ่ที่ต่างประสบการณ์ แต่มีเป้าหมายเดียวกัน คือ มุ่งกะเทาะหาข้อเท็จจริงออกมาจากชุมชนให้มากที่สุด และเรียนรู้กับชุมชนไปพร้อมกัน เครื่องมือที่นำมาใช้ในแต่ละช่วงมีหลากหลาย อาทิ โอ่งชีวิต แผนที่ชุมชน แผนที่ความคิด ต้นไม้ชุมชน ปฏิทินกิจกรรม ในที่สุดเราก็พบว่ากลุ่มแม่บ้านที่รวมกลุ่มกันทำข้าวซ้อมมือ ต้องการรวมกลุ่มใหม่หลังจากกลุ่มสลายตัวไปด้วยเหตุผลบางประการ เมื่อตัวแทนของชุมชนหยิบยกปัญหาการล้มหายของกลุ่ม ทีมวิจัยจึงเข้าไปชวนกลุ่มศึกษาตนเองในรายละเอียด พร้อมกับสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ จนเกิดการรวมกลุ่มตามความต้องการของชุมชนอีกครั้ง ซึ่งมีข้อสรุปว่ากลุ่มข้าวซ้อมมือที่รวมกลุ่มขึ้นมาใหม่นั้น ยังมีปัญหาที่ต้องการแก้ไข โดยเฉพาะการขาดความรู้ที่จะสนับสนุนการดำเนินการที่จะทำให้กลุ่มยั่งยืนต่อไป ซึ่งเข้าตามกรอบพันธกิจของสถาบันการศึกษาในด้านการบริการวิชาการ และคาดว่าจะมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในโครงการวิจัยระยะที่ 3 ที่เน้นไปที่การให้บริการวิชาการแก่กลุ่มตามความถนัดของแต่ละสถาบันการศึกษา

http://www.youtube.com/watch?v=8sYSkYKgssI