Tag Archives: bwc

ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559

เพื่อน ๆ หลายท่านมีบุตรหลานสมัครเข้าเรียนที่โรงเรียนบุญวาทย์ เห็นแล้วก็สนใจ

ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

แล้ววันที่ 1 เมษายน 2559 ได้อ่านประกาศโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย หลายฉบับ
จึงบันทึกเก็บไว้ พร้อมเก็บแฟ้มประกาศ ดังนี้
เรื่อง ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2559
ประเภทนักเรียนทั่วไป
พบแฟ้ม http://58.137.128.197/pdf/1.pdf
หรือ https://www.facebook.com/groups/thaiebook/606596729491149/
อ่านดูพบว่าประกาศรับสมัครนักเรียนทั้งหมด 254 คน
และ
เรื่อง ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2559
ประเภทนักเรียนในเขตพื้นที่บริการ
พบแฟ้ม http://58.137.128.197/pdf/2.pdf
หรือ https://www.facebook.com/groups/thaiebook/606598452824310/
อ่านดูพบว่าประกาศรับสมัครนักเรียนทั้งหมด 202 คน

ประกาศรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2559 นั้น
พบเอกสารที่ http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/regis1-2559.pdf
หรือ https://www.facebook.com/groups/thaiebook/606590036158485/

ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559
ประเภทนักเรียนนอกเขตพื้นที่บริการ สมัคร 667 คน
ประเภทนักเรียนในเขตพื้นที่บริการ สมัคร 285 คน
พบเอกสารที่ http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/test_student59.pdf

การรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

การรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

การรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

1 เม.ย.59 ได้อ่านประกาศโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย
เรื่อง การรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2559
เมื่อ 1 เมษายน 2559 พบแฟ้ม http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/regis1-2559.pdf
อ่านดูพบว่าประกาศรับสมัครนักเรียน
ประเภทห้องเรียนพิเศษ (วิทยาศาสตร์) 30 คน
ประเภทนักเรียนในเขตพื้นที่บริการ รับจำนวน 254 คน
ประเภทนักเรียนทั่วไป (ในเขต + นอกเขต) รับจำนวน 254 คน
ประเภทนักเรียนความสามารถพิเศษ 30 คน
ประเภทนักเรียนเงื่อนไขพิเศษ ไม่เกิน 47 คน
รวมทั้งสิ้น 615 คน
https://www.facebook.com/groups/thaiebook/606590036158485/

ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4 ปีการศึกษา 2559

เพื่อนที่ลำปางหลายท่านมีลูกมีหลานสอบเข้าโรงเรียนมัธยม ปีการศึกษา 2559
ทั้งมัธยมต้น และมัธยมปลาย ผมเข้าดูข้อมูลโรงเรียนประจำจังหวัดโรงเรียนหนึ่ง
คือ โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย ที่ http://www.bwc.ac.th
พบรายชื่อนักเรียนเข้าสอบ ม.4 สองร้อยกว่าคน
แต่ประกาศรับจริง รวม 71 คน ดังนี้
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 40 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ 12 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส, อังกฤษ-ภาษาเยอรมัน, อังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน 5 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาไทย-สังคมศึกษา 5 คน
http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/regis-4-2559.pdf

 

 

ผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4

ผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4

 

ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์สอบคัดเลือกนักเรียนต่อชั้น ม.4 ปีการศึกษา 2559
เข้าถึงเมื่อ 1 เมษายน 2559
http://www.bwc.ac.th/modules/news/pdf/test_student4-59.pdf
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 192 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ 9 คน + 30 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส 5 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน 9 คน
แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาไทย-สังคมศึกษา 18 คน

รวม 272 คน แต่รับรวม 71 คน
คิดเป็นอัตราส่วน 3.8 คนต่อ 1

 

https://www.facebook.com/groups/thaiebook/606574459493376/

ประกาศผลสอบเข้า บ.ว.2557

2 เม.ย.57 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย ประกาศผลสอบเข้าเรียนต่อ
มัธยมศึกษาปีที่ 1 และปีที่ 4
ผ่านเว็บไซต์ http://www.bwc.ac.th/

ประกาศผลสอบเข้า บ.ว.2557

ประกาศผลสอบเข้า บ.ว.2557

ข้อมูลส่วนหนึ่ง
1. ประกาศผลสอบการเข้าเรียนต่อ จำนวน 40 คน
ระดับชั้น  ม.4 โรงเรียนบุญวาทย์ ปีการศึกษา 2557
https://www.facebook.com/download/264524747058780/m4_gen_2557.pdf

2. ประกาศผลสอบการเข้าเรียนต่อ (นักเรียนทั่วไป) จำนวน 286 คน
ระดับชั้น  ม.1 โรงเรียนบุญวาทย์ ปีการศึกษา 2557
https://www.facebook.com/download/1482755408603594/m1_gen_2557.pdf

งานศิลปะของนักเรียน วาดปก notebook

ปกสมุด 2556

ปกสมุด 2556

 

8 เม.ย.56 วันนี้นักเรียน ม.2 และ ม.3 ของโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัยไปรับเงินอุดหนุน 660 บาทจากรัฐบาล และซื้อสมุดของโรงเรียน 210 บาท จากนั้นก็ไปจ่ายค่าเล่าเรียน 3,700 บาท โดยสมุดที่ได้รับมาแต่ละปีก็จะมีปกที่สวยงาม เป็นงานศิลปะจากผลงานการวาดของนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกในแต่ละปี งานศิลปะมีความหลากหลายอาจใช้มือวาด ใช้ภาพถ่าย หรือใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ เป็นความหลากหลายที่งดงาม

 

ปกสมุด 2556

ปกสมุด 2556

ปกสมุด 2556

ปกสมุด 2556

ปกสมุด 2556

ปกสมุด 2556

ปกหลังสมุด 2556

ปกหลังสมุด 2556

ศิลปินนักเรียน 2556
– ยุรนันท์ แมะบ้าน
– ธิติพัฒน์ สอนแปง
– อารยา พงษ์เลาหพันธุ์
– ทิพย์อักษร สุวรรณลักษณ์

ศิลปินนักเรียน 2555
– วัชรชัย เวชโช
– ยุรนันท์ แมะบ้าน
– มัณฑนา สีตลานุชิต
– พชญ์สินี สุวรรณธวัช
– ทิพย์อักษร สุวรรณลักษณ์

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

 

 

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกสมุด 2555

ปกหลังสมุด 2555

ปกหลังสมุด 2555

ในส่วนของธุรกรรมทางการเงิน เด็ก ๆ ไปรับเงินอุดหนุนจากคุณครู และเข้าแถวซื้อสมุดจากผู้ประกอบธุรกิจโดยระบุลำดับที่ในห้องเรียน ส่วนผู้ปกครองก็จ่ายค่าเล่าเรียนโดยมีธนาคารมาตั้งโต๊ะ โดยผู้ปกครองกรอกชื่อ สกุล ห้อง ชั้น และเลขประชำตัว 5 หลัก ลงในใบนำฝากของธนาคาร ชำระเงิน แล้วรับหลักฐานเป็นสำเนาใบนำฝากของธนาคาร

http://www.facebook.com/photo.php?fbid=10151523104362272&set=a.10150945395632272.435218.350024507271

 

องค์ประกอบที่เหมือนกัน (itinlife 379)

 

ดร.สาโรจน์ แก้วอรุณ ผอ.โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย

ดร.สาโรจน์ แก้วอรุณ ผอ.โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย

17 ม.ค.56  หลายระบบในโลกของเราเทียบเคียงกันได้ว่าเหมือนกัน มีโอกาสไปประชุมผู้ปกครองที่โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย ซึ่งมีระบบคล้ายกับระบบของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีองค์ประกอบ คือ ครู/อาจารย์ นักเรียน/นักศึกษา โรงเรียน/มหาวิทยาลัย ผู้ปกครอง ผู้บริหาร นโยบายจากภายนอก ระเบียบ หลักสูตร ศิษย์เก่า สิ่งสนับสนุน และเป้าหมาย เป็นต้น แล้ว ดร.สาโรจน์ แก้วอรุณ ผู้อำนวยการได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT) ให้เห็นถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค พร้อมนำเสนอแผนงาน/โครงการที่จะก้าวต่อไป
ในฐานะโรงเรียนคุณภาพ จึงเสนอองค์ประกอบที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ชัดเจน ผ่านผู้รับผิดชอบทั้งฝ่ายปกครอง ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายบุคคล ฝ่ายการเงิน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มาช่วยกันสะท้อนและดูแลปัญหา นำสู่การพัฒนาก้าวต่อไป แล้วมองอนาคตของเด็กที่จะจบออกไป ซึ่งทั้งหมดสะท้อนถึงระบบและกลไก ทำให้ไม่มีข้อสงสัยว่าทำไมโรงเรียนนี้ถึงอยู่อันดับ 5 ของประเทศ และอันดับ 1 ของภาคเหนือ แต่ผู้อำนวยการเตือนสติผู้ปกครองที่ยังไม่ได้ชำระเงินอุดหนุนพิเศษว่า “ถ้าใช้งบที่ได้จาก สพฐ. อย่างเดียว เราเป็นเลิศไม่ได้หรอก” จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุน เพื่อนำมาจ่ายค่าจ้างครูเชี่ยวชาญ ครูทดแทน พนักงานทำความสะอาด ค่าสอนคอมพิวเตอร์ รวมถึงการตอบสนองนโยบาย 300 บาท และ 15000 บาทของรัฐ
ครูอดุล อุดม ให้ข้อคิดว่า ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามาในชีวิตของเด็กแล้ว การใช้วิจารณญาณเลือกเฉพาะที่เป็นประโยชน์ และหลีกเลี่ยงให้ห่างไกลจากภัยนั้นยังไม่ดีพอ มีผู้ปกครองบางท่านเข้าใจผิดว่าฝากเด็กไว้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ทโฟนเป็นเรื่องดี เพราะเห็นเด็กติดหนึบอยู่กับอุปกรณ์ตั้งแต่ 2 ทุ่มถึงตีสอง ไม่ไปเที่ยวเถรไถลที่ไหน แต่หารู้ไม่ว่าอินเทอร์เน็ตเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหามากมาย มีเด็กบางกลุ่มทะเลาะกันโดยเริ่มจากการโพสต์ข้อความโต้ตอบกันในอินเทอร์เน็ตก็มีแล้ว การที่นักเรียนมีอย่างน้อยหนึ่งวิชาที่ติด 0 ก็จะส่งผลให้ออกใบรับรองว่าจบไม่ได้ นั่นอาจมีสาเหตุมาจากอินเทอร์เน็ตก็เป็นได้ ในตอนท้ายคุณครูให้คำแนะนำว่าผู้ปกครองควรกอดลูกบ้าง ครอบครัวจะได้มีความอบอุ่น เพราะเด็กวัยนี้ต้องการความรักความเข้าใจ

ประชุมผู้ปกครอง บว.

เครือข่ายผู้ปกครอง

เครือข่ายผู้ปกครอง

19 มี.ค.55 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย ให้ความสำคัญกับ stakeholder โดยเฉพาะผู้ปกครองของนักเรียนกว่า 792 คนของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อปีการศึกษา 2554 จากการร่วมงานประชุมผู้ปกครอง พบว่ามีการนำเสนอ อัตลักษณ์ (identity) อย่างชัดเจน คือ “รักการทำดี วิชาการมาตรฐานสากล สร้างคนป็นผู้นำ” และมีการวางระบบในการดำเนินการกับผู้ปกครอง สร้างกลไกให้เกิดขับเคลื่อนโรงเรียนได้อย่างชัดเจน

โรงเรียนให้ความสำคัญ ต่อ บทบาทของผู้ปกครอง คือ ให้แต่ละห้องเรียนคัดเลือก เครือข่ายผู้ปกครองแต่ละห้องเรียน มาห้องละ 5 คน นำทั้ง 16 ห้องมารวมกัน คัดเลือกเป็นเครือข่ายผู้ปกครองระดับชั้นได้ 5 คน แล้วนำไปคัดเลือกเครือข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรียน .. ผู้ปกครองที่เห็นความสำคัญของบทบาทนี้ และคิดว่าจะเข้าไปทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ทั้งต่อตัวนักเรียน และโรงเรียนก็จะอาสาเข้าไปเป็นเครือข่าย และร่วมกันระดมสมองในการพัฒนาโรงเรียน เป็นอีกกลไกหนึ่งของ stakeholder ที่เข้มแข็ง