ตำนานอำเภอแม่เมาะ

ตำนานอำเภอแม่เมาะ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของอำเภอแม่เมาะ
– ตำนานเจ้าพ่อประตูผา หรือ พญาข้อมือเหล็ก
– ตำนานดอยผาช้าง
– ถ้ำเทพสถิตย์
– ถ้ำผาโง้ม
– ถ้ำดอยน้อย
– ถ้ำดอยงู
– บ้านห้วยเป็ด
– แผ่นดินหวิด
– ศาลหลักเมือง
– วัดเมาะหลวง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่เมาะ

แผนที่อำเภอแม่เมาะ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maemo.htm

คำขวัญอำเภอแม่เมาะ
ถ้ำอินทร์เนรมิต แหล่งผลิตไฟฟ้า ถ่านหินล้ำค่า เจ้าพ่อประตูผา สวนป่าสักทอง

พื้นที่
ประมาณ 860.44 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ค่อนข้างอบอ้าวและหนาวจัดในฤดูหนาว มีฝนตกน้อย

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล  5 แห่ง
– หมู่บ้าน  42 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ รับจ้าง การเกษตร
– อาชีพเสริม ได้แก่ ค้าขาย

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สำคัญของอำเภอ ได้แก่ ถ่านหินลิกไนต์ หินปูน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 38,776 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 19,625 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 19,151 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 45.02 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์  อ้อย  ข้าว
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่
1 อ่างเก็บน้ำแม่จาง
2 อ่างเก็บน้ำแม่ขาม
3 น้ำแม่จาง

ตำนานอำเภอแม่พริก

ตำนานอำเภอแม่พริก
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของอำเภอแม่พริก
– ภูมิปัญญาชาวบ้านสมัยโบราณ
– ประวัติพระมหาธาตุเจดีย์ 12 ราศี
– ตำนานวัดผาปังกลาง
– ตำนานวัดพระพุทธบาทวังตวง
– ตำนานห้วยขี้ .. ที่ผาปัง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่พริก

แผนที่อำเภอแม่พริก

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maeprik.htm

คำขวัญอำเภอแม่พริก
สวนส้มเกลี้ยงลือไกล ถิ่นลำไยไร้สารพิษ ถ้ำน้ำผ่างามวิจิตร เมืองเศรษฐกิจชุมชน

พื้นที่
ประมาณ 538.921 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เนื่องจากสภาพพื้นที่มีภูเขาล้อมรอบ ฤดูร้อนอากาศร้อนอบอ้าว ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็น ฤดูหนาว (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน (มีนาคม – พฤษภาคม ) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 4  แห่ง
– หมู่บ้าน 28 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนา  ทำไร่  เลี้ยงสัตว์
– อาชีพเสริม ได้แก่ ปลูกพืชฤดูแล้ง  หาของป่า

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
ได้แก่  ทรัพยากรป่าไม้

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น   รวม 17,389 คน
– จำนวนประชากรชาย   รวม 8,611 คน
– จำนวนประชากรหญิง   รวม 8,778 คน
– ความหนาแน่นของประชากร   32.27 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   ลำไย   ส้มเกลี้ยง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่  แม่น้ำวัง

ตำนานอำเภอแม่ทะ

ตำนานอำเภอแม่ทะ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาอำเภอแม่ทะ
– พ่อหนานอินถา
– หนานอินถานายาบ
– พ่อเจ้าติ๊บปาละ (สามขา)
– ความเป็นมาของหมู่บ้านสามขา
– ตำนานพระเจ้าไม้แก่นจันทน์
– ตำนานพระเจ้าทันใจสองพี่น้อง วัดดอนไฟ
– ตำนานวัดดอยม่วงคำ กับนิทานพื้นบ้าน “หมาขนคำ”
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่ทะ

แผนที่อำเภอแม่ทะ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maetha.htm

คำขวัญอำเภอแม่ทะ
ลำน้ำจางหล่อเลี้ยงเศรษฐกิจ พุทธรูปศักดิ์สิทธิ์พระไม้แก่นจันทน์ สินแร่สำคัญถ่านหินดินขาว อาชีพยืนยาวไม้แกะสลัก แหล่งประจักษ์ธรรมถ้ำพระสบาย

พื้นที่
ประมาณ 810.543 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
แบบมรสุม

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 10 แห่ง
– หมู่บ้าน 93 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม   รับจ้าง   ปลูกพืชไร่
– อาชีพเสริม ได้แก่ การเลี้ยงสัตว์

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สำคัญของอำเภอ  ได้แก่   ดินขาว   ถ่านหินลิกไนท์

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 62,859 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 31,481 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 31,378 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 77.55 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   อ้อย   มะเขือเทศ
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่  ลำน้ำจาง

ตำนานอำเภอเมืองปาน

ตำนานอำเภอเมืองปาน
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเมืองปาน
– ตำนานพระธาตุวงตา
– ตำนานวัดพระธาตุดอยเต่าคำ
– ตำนานพระธาตุดอยซาง หรือภูซาง
– ตำนานบ้านทุ่งส้าน
– ตำนานพระธาตุจอมก้อย
– ตำนานพระพุทธเจ้าดอกสาน
– ประวัติพระพุทธเจ้าดอกสาน (พระนอนองค์ใหญ่)
– ประวัติการสร้างพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ และศาลาพุทธธรรม
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเมืองปาน

แผนที่อำเภอเมืองปาน

 

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/muangpan.htm

คำขวัญอำเภอเมืองปาน
แหล่งต้นน้ำลำธาร อุทยานแจ้ซ้อน บ่อน้ำร้อนลือนาม สามต้นสักใหญ่ ไหว้พระธาตุดอยซาง

พื้นที่
ประมาณ 865.103 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
มี 3 ฤดู ฤดูหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 6 องศา(พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน อุณหภูมิสูงสุด 36 องศา (มีนาคม– พฤษภาคม ) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 5 แห่ง
– หมู่บ้าน 55 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนา
– อาชีพเสริม ได้แก่ ทำสวน ทำไร่

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 34,453 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 17,350 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 17,103 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 39.505 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ  ได้แก่ ข้าว  อ้อย  ข้าวโพดฝักอ่อน / เลี้ยงสัตว์
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 น้ำแม่เต๊าะ-แม่ต๋อม
2 น้ำแม่สอย
3 น้ำแม่มอน
4 น้ำแม่ปาน
5 น้ำแม่ก๋วม
6 น้ำแม่บอม
7 น้ำแม่ตุ๋ย
8 น้ำแม่นึง

ตำนานอำเภอเมือง

ตำนานอำเภอเมือง
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเขลางค์นคร ยุคเริ่มสร้าง
– ตำนานพระนางจามเทวี
– เรื่องเล่าชุมชนบ้านวังหม้อ
– ตำนานวัดเจดีย์ซาว
– ประวัติพระเจ้าแสนแซ่ทองคำประดิษฐาน ณ วัดพระเจดีย์ซาวหลัง จังหวัดลำปาง
– ประวัติพระพุทธรูป “พระเจ้าแสนแซ่ทองคำ”
– ตำนานพระธาตุแก้วดอนเต้า
– วัดพระแก้วดอนเต้า นครลำปาง
– ตำนานวัดม่อนพญาแช่
– ตำนานวัดศรีล้อม
– ตำนานต้นศรีมหาโพธิ์
– ศาลเจ้าพ่อมหายักษ์สามพันตน
– วัดพระธาตุเสด็จ
– วัดพระธาตุม่อนจำศีล นครลำปาง
– ตำนานสำนักปฏิบัติธรรมวัดเวียงทอง (วังบัวตอง)
– ตำนานวัดม่อนปู่ยักษ์
– ความเป็นมาชุมชนบ้านปงสนุก
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเมือง

แผนที่อำเภอเมือง

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/muang.htm

คำขวัญอำเภอเมืองลำปาง
ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก

พื้นที่
ประมาณ 1,156 ตารางกิโลเมตร
http://www.amphoe.com/menu.php?am=546&pv=51&mid=1

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำระหว่าง 10 – 12 องศา ฤดูร้อน (มีนาคม – มิถุนายน) อุณหภูมิ 35 – 43 องศา ฤดูฝน (เริ่มเดือน กรกฎาคม – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 15 แห่ง
– หมู่บ้าน 176 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก   การเกษตร ได้แก่การปลูกข้าวเหนียว  อ้อย  ถั่วเหลือง และสัปปะรด
– อาชีพเสริม   เลี้ยงสัตว์  ได้แก่  โค  กระบือ  ไก่  เป็ด  และสุกร

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แม่น้ำวัง
– แม่น้ำตุ๋ย
– ทรัพยากรแร่  ได้แก่  แร่พลวง  ดินขาว  แร่ดินเบา
– ทรัพยากรป่าไม้  ได้แก่  ไม้สัก  ไม้เต็ง  ไม้รัง  ไม้แดง  ไม้ประดู่

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 234,782 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 114,202 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 120,580 คน
– ความหนาแน่นของประชากร – คน/ตร.กม.

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวเหนียว,อ้อย ,ถั่วเหลือง,สัปปะรด
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 แม่น้ำวัง
2 แม่น้ำตุ๋ย
3 เขื่อนกิ่วลม
4 เขื่อนยาง

ตำนานอำเภอแจ้ห่ม

ตำนานอำเภอแจ้ห่ม
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเมืองแจ้ห่มกับเจ้าพ่อพญาคำลือและชาติพันธุ์ดั้งเดิม
– วัดอักโขชัยคีรี
– ตำนานวัดอักโขชัยคีรี
– ตำนานม่อนก๋องข้าว
– ตำนานรอยพระพุทธบาทห้วยลูด
– ตำนานวัดดงนั่งคีรีชัย ตำบลวิเชตนคร แจ้ห่ม ลำปาง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแจ้ห่ม

แผนที่อำเภอแจ้ห่ม

ข้อมูลจาก
http://ldslpg.org/structure/jaehom.htm

คำขวัญอำเภอแจ้ห่ม   
พญาคำลือคู่บ้าน มะขามหวานคู่เมือง เงาพระธาตุลือเลื่อง เมืองน้ำปูดี

พื้นที่
ประมาณ 1,349.121 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา มีป่าไม้ล้อมรอบ มีที่ราบลุ่มบริเวณ ที่ราบใกล้แม่น้ำเป็นบางส่วน มีพื้นที่ป่าไม้ประมาณร้อยละ 76 ของพื้นที่ทั้งหมด มีพื้นที่ภูเขาครอบคลุมโดยรอบของพื้นที่อำเภอ

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 7 แห่ง
– หมู่บ้าน 62 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป ค้าขาย
– อาชีพเสริม ได้แก่ การทำผักกาดดอง การแปรรูปใบยาสูบ การทำหัตถกรรมในครัวเรือน

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– ป่าไม้
– แม่น้ำวัง แม่น้ำสอย แม่น้ำมอญ
– แร่หินปูน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม  38,476 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม  19,273 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 19,203 คน
– ความหนาแน่นของประชากร  29 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ผักกาดเขียวปลี ใบยาสูบ
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 แม่น้ำวัง
2 แม่น้ำสอย
3 แม่น้ำมอญ

ตำนานอำเภองาว

ตำนานอำเภองาว
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานอำเภองาว
– ตำนานวัดม่อนทรายนอน อำเภองาว จังหวัดลำปาง
– ตำนานเจ้าแม่สรรพกิจ (สัปปะกิ) – ตุงซาววาเมืองง้าวเงิน
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภองาว

แผนที่อำเภองาว

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/ngao.htm

คำขวัญอำเภองาว
หนึ่งในสยามคือถ้ำผาไท ศูนย์รวมจิตใจเจ้าพ่อประตูผา เครื่องหนังงามตา ล้ำค่าไม้แกะสลัก อนุรักษ์วัฒนธรรม งามล้ำอำเภองาว

พื้นที่
ประมาณ 1,815.313 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เป็นเขตร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 10 แห่ง
– หมู่บ้าน 84 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ การทำเกษตรกรรม (ปลูกข้าว)
– อาชีพเสริม ได้แก่ ปลูกกระเทียม   ปลูกข้าวโพด

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
– ที่สำคัญของอำเภอ ป่าไม้ของอำเภองาว 940,000 ไร่
– แร่ดินขาว อยู่ที่ ต.บ้านหวด
– แร่ลิกไนท์ อยู่ที่ ต.แม่ตีบ

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 58,827 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 29,398 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 17,471 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 30 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว  กระเทียม  ข้าวโพด
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่   แม่น้ำงาว

ตำนานอำเภอเกาะคา

ตำนานอำเภอเกาะคา
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาอำเภอเกาะคา
– ประวัติการสร้างเมืองลำปาง – ตำนานพระนางจามเทวี เกี่ยวข้องกับพระธาตุลำปางหลวง
– ภูมิหลังเมืองลำปางกับตำนานพระธาตุลำปางหลวง
– ตำนานวัดไหล่หินหลวง
– ตำนานพระธาตุจอมพิงค์ชัยมงคล (พระธาตุจอมปิง)
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเกาะคา

แผนที่อำเภอเกาะคา

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/koka.htm

คำขวัญอำเภอเกาะคา
พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ แหล่งผลิตน้ำตาลทราย สวดลายงามเครื่องปั้น จักสานเครื่องใช้ อุ่นไอบ่อน้ำร้อน ลือกระฉ่อนมนุษย์เกาะคา

พื้นที่
ประมาณ 551.152 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
แบบมรสุม มี 3 ฤดู ฤดูร้อน (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม) ฤดูหนาว (พฤศจิกายน – มกราคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 9 แห่ง
– หมู่บ้าน 77  แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ด้านเกษตร  รับจ้างทั่วไป
– อาชีพเสริม ได้แก่ อุตสาหกรรมในครัวเรือน/โรงงานเซรามิคส์กว่า 50 โรง

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แร่ฟอสเฟต  ที่ตั้ง บ้านหาดปู่ด้าย ม. 1 ตำบลนาแส่ง
– ปูนขาว ที่ตั้ง บ้านทุ่งขาม ม.6 ต.ใหม่พัฒนา

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม 63,554 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม 30,990 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 32,564 คน

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว  อ้อย  ถั่วเหลือง  ถั่วลิสง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 ลำน้ำวัง ความยาว 42 กม.
2 ลำน้ำยาว ความยาว 18 กม.
3 ลำน้ำจาง ความยาว 8 กม.

สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559 ลำปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข

สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559
ลำปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข
วันที่ 9 – 13 เมษายน 2559
ณ สวนสาธารณะเขลางค์นคร และข่วงนคร ห้าแยกหอนาฬิกา

สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559 ลำปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข

สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559
ลำปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข

[9 เมษายน 2559]
9.00น. การประกวดการก่อเจดีย์ทรายล้านนา
18.00น. พิธีเปิด งานสลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559
20.00น. การประกวดการแสดงตีก๋องปู้จา
ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
22.00น. การแสดงของศิลปินล้านนา โดย วิฑูรย์ ใจพรม และตู่ ดารณี

[10 เมษายน 2559]
13.00น. การประกวดแข่งขันสะล้อซอซึง โดย สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง
18.00น. การประกวดการแสดงตีก๋องปู้จา
ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
22.00น. การแสดงของศิลปินล้านนา โดย เอ็ดดี้ ตี๋ดอยตุง และบุญศรี รัตนัง

[11 เมษายน 2559]
19.00น. การประกวดเทพบุตร เทพธิดาสลุงหลวง

[12 เมษายน 25598]
9.00น. ขบวนอัญเชิญพระเจ้าแก้วดอนเต้า เข้าสู่นครลำปาง
12.00น. กิจกรรมแกงฮังเลหลวง และการแสดงดนตรี โดยศิลปินล้านนา
ณ สวนสาธารณะ ห้าแยกหอนาฬิกา
14.30น. ขบวนแห่สลุงหลวง เคลื่อนจากบริเวณข่วงกู่ย่าสุตตา  (วัดประตูต้นผึ้ง)
สิ้นสุดขบวน ณ บริเวณข่วงนคร ห้าแยกหอนาฬิกา
17.30น. พิธีเจริญพระพุทธมนต์เย็น และสรงน้ำพระเจ้าแก้วดอนเต้า

[13 เมษายน 2559]
7.00น. พิธีทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งแก่พระสงฆ์ เนื่องในวันปีใหม่เมือง
ณ ข่วงนคร ห้าแยกหอนาฬิกาไปตามถนนท่าคราวน้อย และถนนฉัตรไชย
12.00น. การแสดงดนตรี โดย ศิลปินล้านนา ณ สวนสาธารณะ ห้าแยกหอนาฬิกา
13.30น. ขบวนแห่ปีใหม่เมือง นครลำปาง ปี 2559
ขบวนแห่จุมพระเจ้าแก้วดอนเต้า และพระสำคัญคู่บ้านคู่เมือง นครลำปาง
จากบริเวณหน้าร้านเยื้อนสยาม
สิ้นสุดขบวน ณ บริเวณหน้าโรงเรียนเทศบาล 3 (บุญทวงศ์อนุกูล)

[9 – 11 เมษายน เวลา 13.00น.]
ชมการประกวดแข่งขันทำอาหารและขนมพื้นเมือง
การประกวดแข่งขันทำอาหารพื้นเมืองลีลา
พร้อมกองเชียร์/การประกวดฟ้อนเล็ม ฟ้อนเจิง ฟ้อนร่ำเปิงลำปาง การออกร้านแหล่งท่องเที่ยวและของดีประจำอำเภอ 13 อำเภอ
การจำหน่ายสินค้า OTOP และมหกรรมอาหาร ร่วมสนุกกับการแสดงดนตรีรำวงย้อนยุค ณ เวทีรำวงย้อนยุคชั่วคราว

https://www.youtube.com/watch?v=-b6tKLmuGqM

100 ปี รถไฟ รถม้า นครลำปาง
วันที่ 1 – 5 เมษายน 2559
ณ สถานีรถไฟนครลำปางและสะพานดำ
อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง

[1 เมษายน 2559]
7.30น. ร่วมต้อนรับขบวนรถไฟขบวนพิเศษ (ผู้บริหาร สื่อมวลชน และผู้แทนบริษัทท่องเที่ยวส่วนกลาง)
ณ สถานีรถไฟ นครลำปาง
พิธีเจริญพระพุทธมนต์ในโอกาสครบรอบ 100 ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง
17.30น. พิธีเปิดงาน “บันทึกประวัติศาสตร์ 100 ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”
20.00น. เยี่ยมชมนิทรรศการ “บันทึกประวัติ 100 ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”
การสาธิตภูมิปัญญาของดีนครลำปาง และการออกร้านจำหน่ายอาหาร
สินค้าจากหน่วยงานต่าง ๆ กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมและการแสดงดนตรีคันทรี่
[2-5 เมษายน 2559]
15.00น. นิทรรศการ “บันทึกประวัติ 100 ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”
การสาธิตภูมิปัญญา ของดีนครลำปาง และการออกร้านจำหน่ายอาหาร
สินค้าจากหน่วยงานต่าง ๆ
18.00น. การแสดงดนตรีคันทรี่ โดย สมาคมรถม้า นครลำปาง
19.00น. กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม และศิลปินล้านนาบนเวที

 

  • 2 เมษายน โดย ตู่ ดารณี
  • 3 เมษายน โดย อ้อม ไม้เมือง
  • 4 เมษายน โดย ณัฏฐ์ กิตติสาร อาร์สยาม
  • 5 เมษายน โดย ครูแอ๊ด พร้อมคณะ


มีการแถลงข่าวเมื่อ 23 มีนาคม 2559
ณ สวนสาธารณะห้าแยกหอนาฬิกา จังหวัดลำปาง
กำหนดการแถลงข่าว “งานบันทึกประวัติศาสตร์ ๑๐๐ ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”
และ “งานสลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง ๒๕๕๙”
๑๖.๓๐ – ๑๗.๐๐ น.  ลงทะเบียนสื่อมวลชนและแขกผู้มีเกียรติ พิธีกรกล่าวต้อนรับเข้าสู่งาน
๑๗.๐๐ น.  ดร.กิตติภูมิ นามวงค์ นายกเทศมนตรีนครลำปาง กล่าวต้อนรับการประชุมสภากาแฟ เป็นกรณีพิเศษ
และนายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง กล่าวเปิดการประชุมสภากาแฟ เป็นกรณีพิเศษ
๑๗.๓๐ – ๑๘.๐๐ น. นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง กล่าวเปิดการแถลงข่าวการจัดงาน “บันทึกประวัติศาสตร์ ๑๐๐ ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”และกล่าวถึงภาพรวมของการจัดงานในระหว่างวันที่ ๑ – ๕ เมษายน ๒๕๕๙ ณ สถานีรถไฟ นครลำปาง และสะพานดำ
๑๘.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง กล่าวเปิดการแถลงข่าวการจัดงาน “สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง ๒๕๕๙” และกล่าวถึงภาพรวมของการจัดงานเทศกาลท่องเที่ยววิถีลำปาง ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๓ เมษายน ๒๕๕๙
รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ สายธนู อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง กล่าวถึงกิจกรรมสลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง ๒๕๕๙ ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๑ เมษายน ๒๕๕๙
นางสุจิตรา จงชาณสิทโธ รองผู้ว่าการด้านตลาดในประเทศ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กล่าวถึงกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองต้องห้าม…พลาด และการท่องเที่ยววิถีไทย
ดร.อุดมศักดิ์ ศักดิ์มั่นวงศ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง กล่าวถึง การแข่งขันตีก๋องปูจา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จากอำเภอต่าง ๆ จำนวน ๑๓ อำเภอ ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๐ เมษายน ๒๕๕๙ ดร.กิตติภูมิ นามวงค์ นายกเทศมนตรีนครลำปาง กล่าวถึงการจัดกิจกรรมระหว่างวันที่ ๑๑ – ๑๓ เมษายน ๒๕๕๙
๑๘.๔๕ – ๑๙.๐๐ น. ตอบข้อซักถามจากสื่อมวลชน
๑๙.๐๐ น. จบงานแถลงข่าว

http://www.lampangcity.go.th/main/index.php/news/detail/2376

ข้อมูลปี 2556
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/673/

ข้อมูลงานสงกรานต์ 2557
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1193/

ข้อมูลงานสงกรานต์ 2558
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1632/