Category Archives: book

ตำนานอำเภอสบปราบ

ตำนานอำเภอสบปราบ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ย้อนรอย – วัฒนธรรม บรรพชนคนแม่ยอง – นาไม้แดง
– ตำนานวัดนายาง “สมภารตนบุญวัดนายาง กู้เมืองลำปาง” อ.สบปราบ
– ย้อนอดีต นักรบผู้เก่งกล้า “สมภารต๋นบุญนายาง”
– เจ้าพ่อประตูผา
– เรื่องเล่าบนเส้นทางแห่งตำนาน “ขุนเขาดอยจง”
– ตำนาน โบราณสถานศักดิ์สิทธิ์ “บ่อโข้ง”
– ตำนานพระพุทธบาทบ่อโข้ง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอสบปราบ

แผนที่อำเภอสบปราบ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/sopprab.htm

คำขวัญอำเภอสบปราบ
อุทยานดอยจง มั่นคงวัฒนธรรม งามล้ำน้ำตกแม่ไซงู เชิดชูบ่อน้ำทิพย์ อ่างนับสิบรอบเมือง ฟูเฟื่องเรื่องดินขาว พร่างพราวปลาหลากพันธุ์

พื้นที่
ประมาณ 502.46 ตารางกิโลเมตร
http://www.amphoe.com

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
อากาศร้อนและแห้งแล้ง ในฤดูร้อน อากาศหนาวในฤดูหนาว

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 4 แห่ง
– หมู่บ้าน 42 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ อาชีพด้านการเกษตรกรรม   เลี้ยงสัตว์
– อาชีพเสริม ได้แก่ กลุ่มอาชีพต่างๆ ในพื้นที่ เช่น ทอผ้า  ทำไข่เค็ม  ถั่วสมุนไพร ฯลฯ

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– ดินขาว
– ป่าไม้

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 28,487 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 14,107 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 14,380 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 57.30 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   อ้อย   ถั่วลิสง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่   น้ำแม่ปราบ   แม่น้ำวัง

ตำนานอำเภอวังเหนือ

ตำนานอำเภอวังเหนือ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของอำเภอวังเหนือ
– เจ้าพ่อพญาวัง เจ้าเมืองพระองค์แรกและพระองค์เดียงแห่งเมืองวัง
– ตำนานวัดพระเกิด
– วัดเวียงกาหลง
– ประวัติหมู่บ้านสบลืน และประวัติวัดสบลืน
– บ้านก่อ ช้างเผือกเมืองลำปาง
– ประวัติ/ความสำคัญของวัดบ้านก่อ
– ประวัติโดยย่อ หลวงพ่อคำป้อ นามสกุล อุดหนุน
– ตำนาน “หงษ์หิน”
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอวังเหนือ

แผนที่อำเภอวังเหนือ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/wangnua.htm

คำขวัญอำเภอวังเหนือ
พญาวังเรืองนาม พระธาตุงามเรื่องชื่อ น้ำตกสวนเลื่องลือ นามนี้คือวังเหนือ

พื้นที่
ประมาณ 1,035 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฝน  หนาว และร้อน

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 8 แห่ง
– หมู่บ้าน 79  แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำการเกษตร อาทิ  ทำนา  ทำไร่  ทำสวน
– อาชีพเสริม ได้แก่ ทอผ้า  รับจ้าง   ค้าขาย   ปักผ้าชาวเขา   ไม้แกะสลัก

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แร่ดินขาว
– แร่บอลเคลย์

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม 42,349 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม 21,556 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 20,793 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 6.5 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ  ได้แก่ ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์   ข้าวเหนียว   ถั่วเหลือง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1. แม่น้ำวัง
2. แม่น้ำหีด

ตำนานอำเภอแม่เมาะ

ตำนานอำเภอแม่เมาะ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของอำเภอแม่เมาะ
– ตำนานเจ้าพ่อประตูผา หรือ พญาข้อมือเหล็ก
– ตำนานดอยผาช้าง
– ถ้ำเทพสถิตย์
– ถ้ำผาโง้ม
– ถ้ำดอยน้อย
– ถ้ำดอยงู
– บ้านห้วยเป็ด
– แผ่นดินหวิด
– ศาลหลักเมือง
– วัดเมาะหลวง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่เมาะ

แผนที่อำเภอแม่เมาะ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maemo.htm

คำขวัญอำเภอแม่เมาะ
ถ้ำอินทร์เนรมิต แหล่งผลิตไฟฟ้า ถ่านหินล้ำค่า เจ้าพ่อประตูผา สวนป่าสักทอง

พื้นที่
ประมาณ 860.44 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ค่อนข้างอบอ้าวและหนาวจัดในฤดูหนาว มีฝนตกน้อย

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล  5 แห่ง
– หมู่บ้าน  42 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ รับจ้าง การเกษตร
– อาชีพเสริม ได้แก่ ค้าขาย

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สำคัญของอำเภอ ได้แก่ ถ่านหินลิกไนต์ หินปูน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 38,776 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 19,625 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 19,151 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 45.02 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์  อ้อย  ข้าว
– แหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่
1 อ่างเก็บน้ำแม่จาง
2 อ่างเก็บน้ำแม่ขาม
3 น้ำแม่จาง

ตำนานอำเภอแม่พริก

ตำนานอำเภอแม่พริก
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาของอำเภอแม่พริก
– ภูมิปัญญาชาวบ้านสมัยโบราณ
– ประวัติพระมหาธาตุเจดีย์ 12 ราศี
– ตำนานวัดผาปังกลาง
– ตำนานวัดพระพุทธบาทวังตวง
– ตำนานห้วยขี้ .. ที่ผาปัง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่พริก

แผนที่อำเภอแม่พริก

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maeprik.htm

คำขวัญอำเภอแม่พริก
สวนส้มเกลี้ยงลือไกล ถิ่นลำไยไร้สารพิษ ถ้ำน้ำผ่างามวิจิตร เมืองเศรษฐกิจชุมชน

พื้นที่
ประมาณ 538.921 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เนื่องจากสภาพพื้นที่มีภูเขาล้อมรอบ ฤดูร้อนอากาศร้อนอบอ้าว ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็น ฤดูหนาว (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน (มีนาคม – พฤษภาคม ) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 4  แห่ง
– หมู่บ้าน 28 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนา  ทำไร่  เลี้ยงสัตว์
– อาชีพเสริม ได้แก่ ปลูกพืชฤดูแล้ง  หาของป่า

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
ได้แก่  ทรัพยากรป่าไม้

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น   รวม 17,389 คน
– จำนวนประชากรชาย   รวม 8,611 คน
– จำนวนประชากรหญิง   รวม 8,778 คน
– ความหนาแน่นของประชากร   32.27 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   ลำไย   ส้มเกลี้ยง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่  แม่น้ำวัง

ตำนานอำเภอแม่ทะ

ตำนานอำเภอแม่ทะ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาอำเภอแม่ทะ
– พ่อหนานอินถา
– หนานอินถานายาบ
– พ่อเจ้าติ๊บปาละ (สามขา)
– ความเป็นมาของหมู่บ้านสามขา
– ตำนานพระเจ้าไม้แก่นจันทน์
– ตำนานพระเจ้าทันใจสองพี่น้อง วัดดอนไฟ
– ตำนานวัดดอยม่วงคำ กับนิทานพื้นบ้าน “หมาขนคำ”
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่ทะ

แผนที่อำเภอแม่ทะ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maetha.htm

คำขวัญอำเภอแม่ทะ
ลำน้ำจางหล่อเลี้ยงเศรษฐกิจ พุทธรูปศักดิ์สิทธิ์พระไม้แก่นจันทน์ สินแร่สำคัญถ่านหินดินขาว อาชีพยืนยาวไม้แกะสลัก แหล่งประจักษ์ธรรมถ้ำพระสบาย

พื้นที่
ประมาณ 810.543 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
แบบมรสุม

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 10 แห่ง
– หมู่บ้าน 93 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม   รับจ้าง   ปลูกพืชไร่
– อาชีพเสริม ได้แก่ การเลี้ยงสัตว์

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สำคัญของอำเภอ  ได้แก่   ดินขาว   ถ่านหินลิกไนท์

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 62,859 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 31,481 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 31,378 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 77.55 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   อ้อย   มะเขือเทศ
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่  ลำน้ำจาง

ตำนานอำเภอเมืองปาน

ตำนานอำเภอเมืองปาน
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเมืองปาน
– ตำนานพระธาตุวงตา
– ตำนานวัดพระธาตุดอยเต่าคำ
– ตำนานพระธาตุดอยซาง หรือภูซาง
– ตำนานบ้านทุ่งส้าน
– ตำนานพระธาตุจอมก้อย
– ตำนานพระพุทธเจ้าดอกสาน
– ประวัติพระพุทธเจ้าดอกสาน (พระนอนองค์ใหญ่)
– ประวัติการสร้างพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ และศาลาพุทธธรรม
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเมืองปาน

แผนที่อำเภอเมืองปาน

 

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/muangpan.htm

คำขวัญอำเภอเมืองปาน
แหล่งต้นน้ำลำธาร อุทยานแจ้ซ้อน บ่อน้ำร้อนลือนาม สามต้นสักใหญ่ ไหว้พระธาตุดอยซาง

พื้นที่
ประมาณ 865.103 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
มี 3 ฤดู ฤดูหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 6 องศา(พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน อุณหภูมิสูงสุด 36 องศา (มีนาคม– พฤษภาคม ) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 5 แห่ง
– หมู่บ้าน 55 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนา
– อาชีพเสริม ได้แก่ ทำสวน ทำไร่

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 34,453 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 17,350 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 17,103 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 39.505 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ  ได้แก่ ข้าว  อ้อย  ข้าวโพดฝักอ่อน / เลี้ยงสัตว์
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 น้ำแม่เต๊าะ-แม่ต๋อม
2 น้ำแม่สอย
3 น้ำแม่มอน
4 น้ำแม่ปาน
5 น้ำแม่ก๋วม
6 น้ำแม่บอม
7 น้ำแม่ตุ๋ย
8 น้ำแม่นึง

ตำนานอำเภอเมือง

ตำนานอำเภอเมือง
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเขลางค์นคร ยุคเริ่มสร้าง
– ตำนานพระนางจามเทวี
– เรื่องเล่าชุมชนบ้านวังหม้อ
– ตำนานวัดเจดีย์ซาว
– ประวัติพระเจ้าแสนแซ่ทองคำประดิษฐาน ณ วัดพระเจดีย์ซาวหลัง จังหวัดลำปาง
– ประวัติพระพุทธรูป “พระเจ้าแสนแซ่ทองคำ”
– ตำนานพระธาตุแก้วดอนเต้า
– วัดพระแก้วดอนเต้า นครลำปาง
– ตำนานวัดม่อนพญาแช่
– ตำนานวัดศรีล้อม
– ตำนานต้นศรีมหาโพธิ์
– ศาลเจ้าพ่อมหายักษ์สามพันตน
– วัดพระธาตุเสด็จ
– วัดพระธาตุม่อนจำศีล นครลำปาง
– ตำนานสำนักปฏิบัติธรรมวัดเวียงทอง (วังบัวตอง)
– ตำนานวัดม่อนปู่ยักษ์
– ความเป็นมาชุมชนบ้านปงสนุก
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเมือง

แผนที่อำเภอเมือง

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/muang.htm

คำขวัญอำเภอเมืองลำปาง
ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก

พื้นที่
ประมาณ 1,156 ตารางกิโลเมตร
http://www.amphoe.com/menu.php?am=546&pv=51&mid=1

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำระหว่าง 10 – 12 องศา ฤดูร้อน (มีนาคม – มิถุนายน) อุณหภูมิ 35 – 43 องศา ฤดูฝน (เริ่มเดือน กรกฎาคม – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 15 แห่ง
– หมู่บ้าน 176 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก   การเกษตร ได้แก่การปลูกข้าวเหนียว  อ้อย  ถั่วเหลือง และสัปปะรด
– อาชีพเสริม   เลี้ยงสัตว์  ได้แก่  โค  กระบือ  ไก่  เป็ด  และสุกร

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แม่น้ำวัง
– แม่น้ำตุ๋ย
– ทรัพยากรแร่  ได้แก่  แร่พลวง  ดินขาว  แร่ดินเบา
– ทรัพยากรป่าไม้  ได้แก่  ไม้สัก  ไม้เต็ง  ไม้รัง  ไม้แดง  ไม้ประดู่

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 234,782 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 114,202 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 120,580 คน
– ความหนาแน่นของประชากร – คน/ตร.กม.

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวเหนียว,อ้อย ,ถั่วเหลือง,สัปปะรด
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 แม่น้ำวัง
2 แม่น้ำตุ๋ย
3 เขื่อนกิ่วลม
4 เขื่อนยาง

ตำนานอำเภอแจ้ห่ม

ตำนานอำเภอแจ้ห่ม
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเมืองแจ้ห่มกับเจ้าพ่อพญาคำลือและชาติพันธุ์ดั้งเดิม
– วัดอักโขชัยคีรี
– ตำนานวัดอักโขชัยคีรี
– ตำนานม่อนก๋องข้าว
– ตำนานรอยพระพุทธบาทห้วยลูด
– ตำนานวัดดงนั่งคีรีชัย ตำบลวิเชตนคร แจ้ห่ม ลำปาง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแจ้ห่ม

แผนที่อำเภอแจ้ห่ม

ข้อมูลจาก
http://ldslpg.org/structure/jaehom.htm

คำขวัญอำเภอแจ้ห่ม   
พญาคำลือคู่บ้าน มะขามหวานคู่เมือง เงาพระธาตุลือเลื่อง เมืองน้ำปูดี

พื้นที่
ประมาณ 1,349.121 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา มีป่าไม้ล้อมรอบ มีที่ราบลุ่มบริเวณ ที่ราบใกล้แม่น้ำเป็นบางส่วน มีพื้นที่ป่าไม้ประมาณร้อยละ 76 ของพื้นที่ทั้งหมด มีพื้นที่ภูเขาครอบคลุมโดยรอบของพื้นที่อำเภอ

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 7 แห่ง
– หมู่บ้าน 62 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป ค้าขาย
– อาชีพเสริม ได้แก่ การทำผักกาดดอง การแปรรูปใบยาสูบ การทำหัตถกรรมในครัวเรือน

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– ป่าไม้
– แม่น้ำวัง แม่น้ำสอย แม่น้ำมอญ
– แร่หินปูน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม  38,476 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม  19,273 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 19,203 คน
– ความหนาแน่นของประชากร  29 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ผักกาดเขียวปลี ใบยาสูบ
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 แม่น้ำวัง
2 แม่น้ำสอย
3 แม่น้ำมอญ

ตำนานอำเภองาว

ตำนานอำเภองาว
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานอำเภองาว
– ตำนานวัดม่อนทรายนอน อำเภองาว จังหวัดลำปาง
– ตำนานเจ้าแม่สรรพกิจ (สัปปะกิ) – ตุงซาววาเมืองง้าวเงิน
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภองาว

แผนที่อำเภองาว

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/ngao.htm

คำขวัญอำเภองาว
หนึ่งในสยามคือถ้ำผาไท ศูนย์รวมจิตใจเจ้าพ่อประตูผา เครื่องหนังงามตา ล้ำค่าไม้แกะสลัก อนุรักษ์วัฒนธรรม งามล้ำอำเภองาว

พื้นที่
ประมาณ 1,815.313 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เป็นเขตร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 10 แห่ง
– หมู่บ้าน 84 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ การทำเกษตรกรรม (ปลูกข้าว)
– อาชีพเสริม ได้แก่ ปลูกกระเทียม   ปลูกข้าวโพด

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
– ที่สำคัญของอำเภอ ป่าไม้ของอำเภองาว 940,000 ไร่
– แร่ดินขาว อยู่ที่ ต.บ้านหวด
– แร่ลิกไนท์ อยู่ที่ ต.แม่ตีบ

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 58,827 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 29,398 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 17,471 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 30 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว  กระเทียม  ข้าวโพด
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่   แม่น้ำงาว