Author Archives: admin

ตำนานอำเภอแม่ทะ

ตำนานอำเภอแม่ทะ
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาอำเภอแม่ทะ
– พ่อหนานอินถา
– หนานอินถานายาบ
– พ่อเจ้าติ๊บปาละ (สามขา)
– ความเป็นมาของหมู่บ้านสามขา
– ตำนานพระเจ้าไม้แก่นจันทน์
– ตำนานพระเจ้าทันใจสองพี่น้อง วัดดอนไฟ
– ตำนานวัดดอยม่วงคำ กับนิทานพื้นบ้าน “หมาขนคำ”
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแม่ทะ

แผนที่อำเภอแม่ทะ

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/maetha.htm

คำขวัญอำเภอแม่ทะ
ลำน้ำจางหล่อเลี้ยงเศรษฐกิจ พุทธรูปศักดิ์สิทธิ์พระไม้แก่นจันทน์ สินแร่สำคัญถ่านหินดินขาว อาชีพยืนยาวไม้แกะสลัก แหล่งประจักษ์ธรรมถ้ำพระสบาย

พื้นที่
ประมาณ 810.543 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
แบบมรสุม

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 10 แห่ง
– หมู่บ้าน 93 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม   รับจ้าง   ปลูกพืชไร่
– อาชีพเสริม ได้แก่ การเลี้ยงสัตว์

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สำคัญของอำเภอ  ได้แก่   ดินขาว   ถ่านหินลิกไนท์

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 62,859 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 31,481 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 31,378 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 77.55 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว   อ้อย   มะเขือเทศ
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่  ลำน้ำจาง

ตำนานอำเภอเมืองปาน

ตำนานอำเภอเมืองปาน
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่จุดเด่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ที่มีบทบาทเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน และขยายเชิงพาณิชย์ต่อไป
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเมืองปาน
– ตำนานพระธาตุวงตา
– ตำนานวัดพระธาตุดอยเต่าคำ
– ตำนานพระธาตุดอยซาง หรือภูซาง
– ตำนานบ้านทุ่งส้าน
– ตำนานพระธาตุจอมก้อย
– ตำนานพระพุทธเจ้าดอกสาน
– ประวัติพระพุทธเจ้าดอกสาน (พระนอนองค์ใหญ่)
– ประวัติการสร้างพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ และศาลาพุทธธรรม
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเมืองปาน

แผนที่อำเภอเมืองปาน

 

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/muangpan.htm

คำขวัญอำเภอเมืองปาน
แหล่งต้นน้ำลำธาร อุทยานแจ้ซ้อน บ่อน้ำร้อนลือนาม สามต้นสักใหญ่ ไหว้พระธาตุดอยซาง

พื้นที่
ประมาณ 865.103 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
มี 3 ฤดู ฤดูหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 6 องศา(พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน อุณหภูมิสูงสุด 36 องศา (มีนาคม– พฤษภาคม ) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 5 แห่ง
– หมู่บ้าน 55 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนา
– อาชีพเสริม ได้แก่ ทำสวน ทำไร่

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 34,453 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 17,350 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 17,103 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 39.505 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ  ได้แก่ ข้าว  อ้อย  ข้าวโพดฝักอ่อน / เลี้ยงสัตว์
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 น้ำแม่เต๊าะ-แม่ต๋อม
2 น้ำแม่สอย
3 น้ำแม่มอน
4 น้ำแม่ปาน
5 น้ำแม่ก๋วม
6 น้ำแม่บอม
7 น้ำแม่ตุ๋ย
8 น้ำแม่นึง

ตำนานอำเภอเมือง

ตำนานอำเภอเมือง
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเขลางค์นคร ยุคเริ่มสร้าง
– ตำนานพระนางจามเทวี
– เรื่องเล่าชุมชนบ้านวังหม้อ
– ตำนานวัดเจดีย์ซาว
– ประวัติพระเจ้าแสนแซ่ทองคำประดิษฐาน ณ วัดพระเจดีย์ซาวหลัง จังหวัดลำปาง
– ประวัติพระพุทธรูป “พระเจ้าแสนแซ่ทองคำ”
– ตำนานพระธาตุแก้วดอนเต้า
– วัดพระแก้วดอนเต้า นครลำปาง
– ตำนานวัดม่อนพญาแช่
– ตำนานวัดศรีล้อม
– ตำนานต้นศรีมหาโพธิ์
– ศาลเจ้าพ่อมหายักษ์สามพันตน
– วัดพระธาตุเสด็จ
– วัดพระธาตุม่อนจำศีล นครลำปาง
– ตำนานสำนักปฏิบัติธรรมวัดเวียงทอง (วังบัวตอง)
– ตำนานวัดม่อนปู่ยักษ์
– ความเป็นมาชุมชนบ้านปงสนุก
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเมือง

แผนที่อำเภอเมือง

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/muang.htm

คำขวัญอำเภอเมืองลำปาง
ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก

พื้นที่
ประมาณ 1,156 ตารางกิโลเมตร
http://www.amphoe.com/menu.php?am=546&pv=51&mid=1

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำระหว่าง 10 – 12 องศา ฤดูร้อน (มีนาคม – มิถุนายน) อุณหภูมิ 35 – 43 องศา ฤดูฝน (เริ่มเดือน กรกฎาคม – ตุลาคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 15 แห่ง
– หมู่บ้าน 176 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก   การเกษตร ได้แก่การปลูกข้าวเหนียว  อ้อย  ถั่วเหลือง และสัปปะรด
– อาชีพเสริม   เลี้ยงสัตว์  ได้แก่  โค  กระบือ  ไก่  เป็ด  และสุกร

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แม่น้ำวัง
– แม่น้ำตุ๋ย
– ทรัพยากรแร่  ได้แก่  แร่พลวง  ดินขาว  แร่ดินเบา
– ทรัพยากรป่าไม้  ได้แก่  ไม้สัก  ไม้เต็ง  ไม้รัง  ไม้แดง  ไม้ประดู่

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 234,782 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 114,202 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 120,580 คน
– ความหนาแน่นของประชากร – คน/ตร.กม.

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวเหนียว,อ้อย ,ถั่วเหลือง,สัปปะรด
– ชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 แม่น้ำวัง
2 แม่น้ำตุ๋ย
3 เขื่อนกิ่วลม
4 เขื่อนยาง

ตำนานอำเภอแจ้ห่ม

ตำนานอำเภอแจ้ห่ม
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานเมืองแจ้ห่มกับเจ้าพ่อพญาคำลือและชาติพันธุ์ดั้งเดิม
– วัดอักโขชัยคีรี
– ตำนานวัดอักโขชัยคีรี
– ตำนานม่อนก๋องข้าว
– ตำนานรอยพระพุทธบาทห้วยลูด
– ตำนานวัดดงนั่งคีรีชัย ตำบลวิเชตนคร แจ้ห่ม ลำปาง
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอแจ้ห่ม

แผนที่อำเภอแจ้ห่ม

ข้อมูลจาก
http://ldslpg.org/structure/jaehom.htm

คำขวัญอำเภอแจ้ห่ม   
พญาคำลือคู่บ้าน มะขามหวานคู่เมือง เงาพระธาตุลือเลื่อง เมืองน้ำปูดี

พื้นที่
ประมาณ 1,349.121 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา มีป่าไม้ล้อมรอบ มีที่ราบลุ่มบริเวณ ที่ราบใกล้แม่น้ำเป็นบางส่วน มีพื้นที่ป่าไม้ประมาณร้อยละ 76 ของพื้นที่ทั้งหมด มีพื้นที่ภูเขาครอบคลุมโดยรอบของพื้นที่อำเภอ

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 7 แห่ง
– หมู่บ้าน 62 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป ค้าขาย
– อาชีพเสริม ได้แก่ การทำผักกาดดอง การแปรรูปใบยาสูบ การทำหัตถกรรมในครัวเรือน

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– ป่าไม้
– แม่น้ำวัง แม่น้ำสอย แม่น้ำมอญ
– แร่หินปูน

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม  38,476 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม  19,273 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 19,203 คน
– ความหนาแน่นของประชากร  29 คน/ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ผักกาดเขียวปลี ใบยาสูบ
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 แม่น้ำวัง
2 แม่น้ำสอย
3 แม่น้ำมอญ

ตำนานอำเภองาว

ตำนานอำเภองาว
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ตำนานอำเภองาว
– ตำนานวัดม่อนทรายนอน อำเภองาว จังหวัดลำปาง
– ตำนานเจ้าแม่สรรพกิจ (สัปปะกิ) – ตุงซาววาเมืองง้าวเงิน
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภองาว

แผนที่อำเภองาว

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/ngao.htm

คำขวัญอำเภองาว
หนึ่งในสยามคือถ้ำผาไท ศูนย์รวมจิตใจเจ้าพ่อประตูผา เครื่องหนังงามตา ล้ำค่าไม้แกะสลัก อนุรักษ์วัฒนธรรม งามล้ำอำเภองาว

พื้นที่
ประมาณ 1,815.313 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
เป็นเขตร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 10 แห่ง
– หมู่บ้าน 84 แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ การทำเกษตรกรรม (ปลูกข้าว)
– อาชีพเสริม ได้แก่ ปลูกกระเทียม   ปลูกข้าวโพด

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
– ที่สำคัญของอำเภอ ป่าไม้ของอำเภองาว 940,000 ไร่
– แร่ดินขาว อยู่ที่ ต.บ้านหวด
– แร่ลิกไนท์ อยู่ที่ ต.แม่ตีบ

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น รวม 58,827 คน
– จำนวนประชากรชาย รวม 29,398 คน
– จำนวนประชากรหญิง รวม 17,471 คน
– ความหนาแน่นของประชากร 30 คน / ตารางกิโลเมตร

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว  กระเทียม  ข้าวโพด
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่   แม่น้ำงาว

ตำนานอำเภอเกาะคา

ตำนานอำเภอเกาะคา
ที่ได้อ่านจากหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
พบว่ามีหัวข้อน่าสนใจ ดังนี้
– ความเป็นมาอำเภอเกาะคา
– ประวัติการสร้างเมืองลำปาง – ตำนานพระนางจามเทวี เกี่ยวข้องกับพระธาตุลำปางหลวง
– ภูมิหลังเมืองลำปางกับตำนานพระธาตุลำปางหลวง
– ตำนานวัดไหล่หินหลวง
– ตำนานพระธาตุจอมพิงค์ชัยมงคล (พระธาตุจอมปิง)
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1784/

แผนที่อำเภอเกาะคา

แผนที่อำเภอเกาะคา

ข้อมูลจาก
http://www.ldslpg.org/structure/koka.htm

คำขวัญอำเภอเกาะคา
พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ แหล่งผลิตน้ำตาลทราย สวดลายงามเครื่องปั้น จักสานเครื่องใช้ อุ่นไอบ่อน้ำร้อน ลือกระฉ่อนมนุษย์เกาะคา

พื้นที่
ประมาณ 551.152 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป
แบบมรสุม มี 3 ฤดู ฤดูร้อน (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ฤดูฝน (มิถุนายน – ตุลาคม) ฤดูหนาว (พฤศจิกายน – มกราคม)

ข้อมูลการปกครอง
– ตำบล 9 แห่ง
– หมู่บ้าน 77  แห่ง

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
– อาชีพหลัก ได้แก่ ด้านเกษตร  รับจ้างทั่วไป
– อาชีพเสริม ได้แก่ อุตสาหกรรมในครัวเรือน/โรงงานเซรามิคส์กว่า 50 โรง

ด้านทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอ
– แร่ฟอสเฟต  ที่ตั้ง บ้านหาดปู่ด้าย ม. 1 ตำบลนาแส่ง
– ปูนขาว ที่ตั้ง บ้านทุ่งขาม ม.6 ต.ใหม่พัฒนา

ด้านประชากร
– จำนวนประชากรทั้งสิ้น  รวม 63,554 คน
– จำนวนประชากรชาย  รวม 30,990 คน
– จำนวนประชากรหญิง  รวม 32,564 คน

ด้านการเกษตร
– ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว  อ้อย  ถั่วเหลือง  ถั่วลิสง
– แหล่งน้ำที่สำคัญ  ได้แก่
1 ลำน้ำวัง ความยาว 42 กม.
2 ลำน้ำยาว ความยาว 18 กม.
3 ลำน้ำจาง ความยาว 8 กม.

สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559 ลำปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข

สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559
ลำปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข
วันที่ 9 – 13 เมษายน 2559
ณ สวนสาธารณะเขลางค์นคร และข่วงนคร ห้าแยกหอนาฬิกา

สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559 ลำปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข

สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559
ลำปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข

[9 เมษายน 2559]
9.00น. การประกวดการก่อเจดีย์ทรายล้านนา
18.00น. พิธีเปิด งานสลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง 2559
20.00น. การประกวดการแสดงตีก๋องปู้จา
ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
22.00น. การแสดงของศิลปินล้านนา โดย วิฑูรย์ ใจพรม และตู่ ดารณี

[10 เมษายน 2559]
13.00น. การประกวดแข่งขันสะล้อซอซึง โดย สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง
18.00น. การประกวดการแสดงตีก๋องปู้จา
ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
22.00น. การแสดงของศิลปินล้านนา โดย เอ็ดดี้ ตี๋ดอยตุง และบุญศรี รัตนัง

[11 เมษายน 2559]
19.00น. การประกวดเทพบุตร เทพธิดาสลุงหลวง

[12 เมษายน 25598]
9.00น. ขบวนอัญเชิญพระเจ้าแก้วดอนเต้า เข้าสู่นครลำปาง
12.00น. กิจกรรมแกงฮังเลหลวง และการแสดงดนตรี โดยศิลปินล้านนา
ณ สวนสาธารณะ ห้าแยกหอนาฬิกา
14.30น. ขบวนแห่สลุงหลวง เคลื่อนจากบริเวณข่วงกู่ย่าสุตตา  (วัดประตูต้นผึ้ง)
สิ้นสุดขบวน ณ บริเวณข่วงนคร ห้าแยกหอนาฬิกา
17.30น. พิธีเจริญพระพุทธมนต์เย็น และสรงน้ำพระเจ้าแก้วดอนเต้า

[13 เมษายน 2559]
7.00น. พิธีทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งแก่พระสงฆ์ เนื่องในวันปีใหม่เมือง
ณ ข่วงนคร ห้าแยกหอนาฬิกาไปตามถนนท่าคราวน้อย และถนนฉัตรไชย
12.00น. การแสดงดนตรี โดย ศิลปินล้านนา ณ สวนสาธารณะ ห้าแยกหอนาฬิกา
13.30น. ขบวนแห่ปีใหม่เมือง นครลำปาง ปี 2559
ขบวนแห่จุมพระเจ้าแก้วดอนเต้า และพระสำคัญคู่บ้านคู่เมือง นครลำปาง
จากบริเวณหน้าร้านเยื้อนสยาม
สิ้นสุดขบวน ณ บริเวณหน้าโรงเรียนเทศบาล 3 (บุญทวงศ์อนุกูล)

[9 – 11 เมษายน เวลา 13.00น.]
ชมการประกวดแข่งขันทำอาหารและขนมพื้นเมือง
การประกวดแข่งขันทำอาหารพื้นเมืองลีลา
พร้อมกองเชียร์/การประกวดฟ้อนเล็ม ฟ้อนเจิง ฟ้อนร่ำเปิงลำปาง การออกร้านแหล่งท่องเที่ยวและของดีประจำอำเภอ 13 อำเภอ
การจำหน่ายสินค้า OTOP และมหกรรมอาหาร ร่วมสนุกกับการแสดงดนตรีรำวงย้อนยุค ณ เวทีรำวงย้อนยุคชั่วคราว

https://www.youtube.com/watch?v=-b6tKLmuGqM

100 ปี รถไฟ รถม้า นครลำปาง
วันที่ 1 – 5 เมษายน 2559
ณ สถานีรถไฟนครลำปางและสะพานดำ
อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง

[1 เมษายน 2559]
7.30น. ร่วมต้อนรับขบวนรถไฟขบวนพิเศษ (ผู้บริหาร สื่อมวลชน และผู้แทนบริษัทท่องเที่ยวส่วนกลาง)
ณ สถานีรถไฟ นครลำปาง
พิธีเจริญพระพุทธมนต์ในโอกาสครบรอบ 100 ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง
17.30น. พิธีเปิดงาน “บันทึกประวัติศาสตร์ 100 ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”
20.00น. เยี่ยมชมนิทรรศการ “บันทึกประวัติ 100 ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”
การสาธิตภูมิปัญญาของดีนครลำปาง และการออกร้านจำหน่ายอาหาร
สินค้าจากหน่วยงานต่าง ๆ กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมและการแสดงดนตรีคันทรี่
[2-5 เมษายน 2559]
15.00น. นิทรรศการ “บันทึกประวัติ 100 ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”
การสาธิตภูมิปัญญา ของดีนครลำปาง และการออกร้านจำหน่ายอาหาร
สินค้าจากหน่วยงานต่าง ๆ
18.00น. การแสดงดนตรีคันทรี่ โดย สมาคมรถม้า นครลำปาง
19.00น. กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม และศิลปินล้านนาบนเวที

 

  • 2 เมษายน โดย ตู่ ดารณี
  • 3 เมษายน โดย อ้อม ไม้เมือง
  • 4 เมษายน โดย ณัฏฐ์ กิตติสาร อาร์สยาม
  • 5 เมษายน โดย ครูแอ๊ด พร้อมคณะ


มีการแถลงข่าวเมื่อ 23 มีนาคม 2559
ณ สวนสาธารณะห้าแยกหอนาฬิกา จังหวัดลำปาง
กำหนดการแถลงข่าว “งานบันทึกประวัติศาสตร์ ๑๐๐ ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”
และ “งานสลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง ๒๕๕๙”
๑๖.๓๐ – ๑๗.๐๐ น.  ลงทะเบียนสื่อมวลชนและแขกผู้มีเกียรติ พิธีกรกล่าวต้อนรับเข้าสู่งาน
๑๗.๐๐ น.  ดร.กิตติภูมิ นามวงค์ นายกเทศมนตรีนครลำปาง กล่าวต้อนรับการประชุมสภากาแฟ เป็นกรณีพิเศษ
และนายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง กล่าวเปิดการประชุมสภากาแฟ เป็นกรณีพิเศษ
๑๗.๓๐ – ๑๘.๐๐ น. นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง กล่าวเปิดการแถลงข่าวการจัดงาน “บันทึกประวัติศาสตร์ ๑๐๐ ปี รถไฟรถม้า นครลำปาง”และกล่าวถึงภาพรวมของการจัดงานในระหว่างวันที่ ๑ – ๕ เมษายน ๒๕๕๙ ณ สถานีรถไฟ นครลำปาง และสะพานดำ
๑๘.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง กล่าวเปิดการแถลงข่าวการจัดงาน “สลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง ๒๕๕๙” และกล่าวถึงภาพรวมของการจัดงานเทศกาลท่องเที่ยววิถีลำปาง ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๓ เมษายน ๒๕๕๙
รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ สายธนู อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง กล่าวถึงกิจกรรมสลุงหลวง กลองใหญ่ ปีใหม่เมือง นครลำปาง ๒๕๕๙ ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๑ เมษายน ๒๕๕๙
นางสุจิตรา จงชาณสิทโธ รองผู้ว่าการด้านตลาดในประเทศ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กล่าวถึงกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองต้องห้าม…พลาด และการท่องเที่ยววิถีไทย
ดร.อุดมศักดิ์ ศักดิ์มั่นวงศ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง กล่าวถึง การแข่งขันตีก๋องปูจา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จากอำเภอต่าง ๆ จำนวน ๑๓ อำเภอ ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๐ เมษายน ๒๕๕๙ ดร.กิตติภูมิ นามวงค์ นายกเทศมนตรีนครลำปาง กล่าวถึงการจัดกิจกรรมระหว่างวันที่ ๑๑ – ๑๓ เมษายน ๒๕๕๙
๑๘.๔๕ – ๑๙.๐๐ น. ตอบข้อซักถามจากสื่อมวลชน
๑๙.๐๐ น. จบงานแถลงข่าว

http://www.lampangcity.go.th/main/index.php/news/detail/2376

ข้อมูลปี 2556
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/673/

ข้อมูลงานสงกรานต์ 2557
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1193/

ข้อมูลงานสงกรานต์ 2558
http://thaiabc.com/lampangnet/admin/1632/

ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง

ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง

ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง

เคยได้ยินว่า ดร.สุจิรา หาผล
ทำโครงการวิจัยย่อยที่ 4 (RDG 5550046) เรื่อง “องค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเล่าชุมชน
เพื่อสร้างจุดเด่นของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง
ซึ่งอยู่ในแผนงานวิจัยเรื่อง “การจัดการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของอัตลักษณ์ชุมชนลำปาง
รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2555
แล้วได้มีการรวบรวมตำนานเรื่องเล่าขานของท้องถิ่นจากทั้ง 13 อำเภอ
เป็นหนังสือ “ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
แล้ววันนี้ (21 มีนาคม 2559) กระผมได้รับหนังสือ
จาก ดร.สุจิรา หาผล มา 1 เล่ม อ่านแล้วสนุกมาก
นักเรียนที่บ้านบอกว่า ถ้าได้หนังสือมาก่อนหน้านี้
ทำวิจัยวิชาประวัติศาสตร์ที่คุณครูสั่งได้สบายเลย
มีครบถ้วนสมบูรณ์มาก ๆ
หนังสือเล่มนี้มี 215 หน้า
จัดทำโดย ดร.สุจิรา หาผล ดร.พรธาดา  สุวัธนวนิช อ.พัชรีภรณ์ หรพร้อม
ภาพปกโดย อ.มานะ  แสนหาญ
ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วาณี  อรรจน์สาธิต

แผนที่ลำปาง และประชากร

แผนที่ลำปาง และประชากร

1. ตำนานอำเภอเมืองลำปาง (Mueang Lampang)
2. ตำนานอำเภอแม่เมาะ (Mae Mo)
3. ตำนานอำเภอเกาะคา (Ko Kha)
4. ตำนานอำเภอเสริมงาม (Soem Ngam)
5. ตำนานอำเภองาว (Ngao)
6. ตำนานอำเภอแจ้ห่ม (Chae Hom)  
7. ตำนานอำเภอวังเหนือ (Wang Nuea)
8. ตำนานอำเภอเถิน (Thoen)
9. ตำนานอำเภอแม่พริก (Mae Phrik)  
10. ตำนานอำเภอแม่ทะ (Mae Tha)  
11. ตำนานอำเภอสบปราบ (Sop Prap)
12. ตำนานอำเภอห้างฉัตร (Hang Chat)
13. ตำนานอำเภอเมืองปาน (Mueang Pan) 


หนังสือ ตำนานเรื่องเล่าเมืองลำปาง
ได้ขออนุญาต ดร.สุจิรา หาผล เผยแพร่ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของลำปางแล้ว
https://www.facebook.com/groups/thaiebook/608120246005464/

Top 10 สินค้าในกาดล้านนา

เอกสารประชาสัมพันธ์กาดล้านนา

เอกสารประชาสัมพันธ์กาดล้านนา

เมื่อช่วงเช้าวันที่ 6 มีนาคม 2559 มีโอกาสไปเดิน Central Plaza ได้เห็นกิจกรรมดี ๆ ที่ชั้น 1 และเห็นว่าแจก Brochure ฟรี หยิบมาอ่านแล้วก็รู้สึกสนใจ เห็นรายการ 10 สินค้าน่าสนใจของแต่ละจังหวัด จึงนำมาเก็บไว้ และก็แชร์สู่กันฟัง ผมว่าน่าสนใจนะ
ในงาน “กาดล้านนา” – สุดยอดสินค้าหลากหลายของดีล้านนา
รวมทั้งหมด 4 จังหวัด คือ ลำปาง เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน
ที่ลำปาง จัดงาน 2 – 6 มีนาคม 2559
ณ ลานโปรโมชั่นชั้น 1 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซาลำปาง
ในส่วนของบทนำพูดถึง Product, Price, Place และ Promotion
งานนี้ดำเนินการโดย กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
และสำนักงานจังหวัดลำปาง 054-265070
ภายใต้โครงการส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนและการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดสู่สากล

เอกสารประชาสัมพันธ์กาดล้านนา

เอกสารประชาสัมพันธ์กาดล้านนา

ในเอกสารมีชื่อของดี ที่อยู่และเบอร์โทร ของแต่ละจังหวัดดังนี้

จังหวัดลำปาง (Lampang)

 

1. กลุ่มทอผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติแจ้ซ้อนเหนือ
2. ต้นเงินหัตถกรรมเครื่องเงิน
3. จำนงค์ศรีเครื่องหนัง
4. น้ำพริกแม่อำพร
5. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวแต๋นน้ำแตงโมแม่บุญพิน
6. งานศิลปะและของแต่งบ้าน
7. ขิม (ทวน สวัสดิเกียรติ)
8. เครื่องใช้ในครัวจากไม้
9. กลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำแร่เพื่อดูแลสุขภาพ
10. ธนบดีเซรามิค

จังหวัดเชียงใหม่ (Chiang Mai)

1. หจก.ลูกชิ้นท่าแพ
2. นิเวทย์กระเทียมดอง
3. ผลิตภัณฑ์ถักโครเชต์กลุ่มถักทอล้านนา
4. สุภาพรณ์ผ้าฝ้าย
5. ร้านรีลาวรรณ
6. ธนิศา โกติละกาล
7. ร้านนามวงศ์
8. ร้านภูมิผ้าไทย
9. กลุ่มเครื่องหนังบ้านสันกลาง
10. วิสาหกิจชุมชน ปัญชัญรักษณ์

จังหวัดลำพูน (Lamphun)

1. ศรีวิลัยผ้าฝ้าย
2. ยาหยีผ้าฝ้าย
3. จันทร์ดีผ้าฝ้าย
4. ม่านไหมชัยเรืองศรี
5. มยุรีแปรรูปผ้าฝ้าย
6. ระฆังผ้าไทย
7. ดาราคำปัน
8. อู๋ผ้าไหม
9. อรษาไหมไทย
10. ฅนยองผ้าไหม

จังหวัดแม่ฮ่องสอน (Mae Hong Son)

1. วิสาหกิจชุมชนต้นบุญ
2. ภูมิไทย
3. น้ำมันงาตรากล้วยไม้
4. กลุ่มขนมงาบ้านชานเมือง
5. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเมืองสามหมอก
6. เสื้อไทใหญ่กลุ่มเฮือนไต
7. ศูนย์ผลิตผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรระดับชุมชนที่ 5
8. กลุ่มแปรรูปผ้าทอบ้านทุ่งสารภี
9. ข้าวตังไข่ขวัญ
10. ผลิตภัณฑ์ม่อนไหม แม่ฮ่องสอน

 

http://pantip.com/topic/34837026
http://www.thailandexhibition.com/TradeShow-2016/8575