ลีนุกซ์ (Linux)
Home  Contents KMArticlesMembersSponsorsAbout us

ปรับปรุง : 2556-10-06 (ปรับเป็นรุ่น 3)
ขอบซ้ายขอบบน
Linux : 0999
:: กลับหน้าแรก :: แสดงเนื้อหาทั้งหมด ::

9.99 การบำรุงรักษา และตรวจสอบ
: บริการให้ดีต้องหมั่นบำรุงรักษา ไม่งั้นอาจอยู่ได้ไม่นานเท่าที่ควร
    9.99.1 สรุปปัญหา วิธีตรวจสอบ และการแก้ไขเบื้องต้น (เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น)
  1. เมื่อเครื่องของผู้ใช้ต่อ internet ไม่ได้ (ตรวจสอบโดยผู้ใช้)
    + ตรวจสอบว่าอะไรใช้ไม่ได้ เช่น http, workgroup, ping หรือ smtp เป็นต้น แล้วหาสาเหตุ
      - http : ถ้าเปิดเว็บใดไม่ได้ ลองเปิดหลาย ๆ เว็บ เพราะบางเว็บอาจ down ชั่วคราว
      - workgroup : Folder sharing ภายในสถาบัน ประกอบด้วยหลายวง หลายระบบปฏิบัติการ บางเครื่องอาจถูกยกเลิกการ share
      - ping : ตรวจด้วยการพิมพ์ ping 202.29.78.254 หรือ 202.29.78.11 เพื่อดูว่าเครื่องท่านเห็นไม่หากไปจากระบบ
      - smtp : ถ้าใช้ smtp.yonok.ac.th ไม่ได้เพราะ server ล่มให้แจ้ง 125 เพราะระบบอาจ hang หรือ over limited
      - winipcfg : คำสั่งนี้ใช้ดูว่า ip ของท่านเบอร์อะไร บางครั้ง ip หาย ท่านสามารถกำหนดได้ด้วยตัวเอง จากเบอร์ที่ติดไว้กับเครื่อง
    + ก่อนแจ้งเจ้าหน้าที่ 125 ท่านควรปฏิบัติดังนี้
      - ให้ reboot เครื่องใหม่ ก่อน reboot ให้ตรวจสอบสายต่าง ๆ ว่าอยู่ในที่ควร หรือไม่ แล้วทดสอบอีกครั้ง
      - ตรวจสอบ HUB และระบบเชื่อมต่อ สำหรับปัญหาที่อาจเกิดจาก hardware ผู้ใช้บางท่านอาจถอดสายไฟของ hub ออก หรือสะดุดจนหลุด
  2. เว็บ หรือ e-mail ของโยนก ใช้การไม่ได้ (ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ 125)
      # ping 202.29.78.12 (ตรวจว่าเครื่อง server เปิดบริการในเครือข่าย หรือไม่ โดยทดสอบจากเครื่องลูก)
      # df (ตรวจว่า harddisk เต็มหรือไม่ ถ้าเต็มต้องไปลบ e-mail ของบางท่าน)
      # เปิดเว็บ http://www.yonok.ac.th (ตรวจว่า named และ httpd ทำงานปกติหรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้สั่ง reboot)
    24/11/2004
  3. ติดต่อ Internet นอกโยนกไม่ได้ (ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ 125)
      - ping 202.29.78.254 หรือ ping 202.28.202.74 (ถ้าติดต่อไม่ได้ให้ reboot ถ้ายังไม่ได้ต้องใช้สาย console เข้าไป config ใหม่)
      - ตรวจสอบไฟสัญญาณของ Fiber modem หรือ Converter ด้วยการมอง ถ้ามีไฟแดงที่ modem ให้แจ้งคุณภากร (0-5421-7200, 0-9759-0946)
      - ตรวจสอบ Router ฝั่งเชียงใหม่ โดย ping 202.28.29.41 ถ้าติดต่อไม่ได้ให้แจ้ง คุณประเสริฐ (0-2248-7749)
  4. กรณีเครื่องในห้อง lab1, lab2 หรือ lab3 ใช้ internet ไม่ได้ (ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ 125)
      - ตรวจสอบเครื่อง DHCP ว่าเปิดบริการ หรือไม่ ด้วยการ ping 192.168.0.1 หรือ ping 202.29.78.11
      - ตรวจสอบ hub ที่เชื่อมโยงตามจุดต่าง ๆ ปัญหาอาจเกิดจาก hub มีอาการ hang ชั่วคราว
  5. กรณี router ของโยนกเสีย (ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ 125)
    router ที่ใช้อยู่คือ CISCO router 2511 เป็นรุ่นเก่าใช้มาตั้งแต่ปี 1996 ปัจจุบันเสียเป็นบางจังหวะมาแล้ว ประมาณ 4 ครั้ง ครั้งล่าสุดส่งซ่อมที่ร้าน smart service ซึ่งเป็นตัวแทน CISCO ในจังหวัดลำปาง แต่มิได้ซ่อมอย่างแท้จริง เพียงแต่นำไปปัดฝุ่นภายใน พร้อมตรวจสอบปัญหาในเบื้องต้น มีค่าใช้จ่าย 450 บาท แล้วนำกลับมาใช้ใหม่
    ปัญหาของ router คือ หยุดทำงานกระทันหัน ping เข้าไปไม่ได้ ใช้สาย console ติดต่อเข้าไปไม่ได้ ทางร้านวิเคราะห์ว่า อุปกรณ์สำคัญไม่มีปัญหา แต่มีบางชิ้นที่ไม่ทำงานในขณะเย็น ต้องอุ่มเครื่องให้ร้อน router จึงจะทำงานได้ปกติ เมื่อมีปัญหาให้ปิด และเปิดทิ้งไว้ประมาณครึ่งชั่วโมง หากไฟที่ปุ่ม ok สว่างมาก ก็แสดงว่า router ทำงานได้ปกติ แต่ขณะมีปัญหาไฟนี้จะไม่สว่างมาก แสดงว่าไฟฟ้าเข้าไม่เต็มที่
    ช่างแจ้งว่าปัญหานี้ซ่อมได้ แต่ต้องนำแต่ละชิ้นมาตรวจสอบ หากพบชิ้นที่มีปัญหา ก็จะสั่งซื้อจากคลองถมที่กรุงเทพฯ หากพบก็จะนำชิ้นส่วนนั้นมาติดตั้งแทน แต่อาจหาได้ไม่ง่าย เพราะเป็นอุปกรณ์ที่มิได้ใช้กันทั่วไป และส่วนใหญ่ make in U.S.A. หลังจากส่งให้ร้าน 3 วัน จึงรอต่อไปไม่ได้ เพราะร้านก็ไม่แน่ใจว่า ถ้าถอดและซ่อมจริง จะหาอุปกรณ์ที่มีปัญหานั้นพบในเวลากี่วัน
      ทางเลือกสำหรับปัญหา router เสีย (CISCO คืออุปกรณ์ที่นิยม และน่าเชื่อถือ ที่สุดในโลก)
    1. ไม่ซ่อม แต่แก้ปัญหาด้วยการปิด และเปิดใหม่ บางครั้งใช้เวลา 1 ชั่วโมงกว่าจะเครื่องร้อน (ปัจจุบันเลือกทางนี้)
    2. ซื้อ smart net ซึ่งเป็นประกัน หากต่อไปเสีย แล้วส่งเข้าบริษัท CISCO ทางบริษัทจะส่งตัวอื่นให้ใช้แทน ค่าใช้จ่าย 17800 บาทต่อปี
    3. ซื้อตัวใหม่ยี่ห้อเดิม ที่มีศักยภาพเทียบเท่า หรือสูงกว่าตัวเดิม มีค่าใช้จ่ายประมาณ 150,000 บาท
    4. ซื้อตัวใหม่ยี่ห้อใหม่ ที่มีศักยภาพ และความคงทน ต่ำกว่ายี่ห้อเดิม มีค่าใช้จ่ายประมาณ 50,000 บาท
    9.99.2 สิ่งที่ควรกระทำ และเข้าใจ
  1. ps aux ตรวจสอบว่ามี process แปลก run อยู่บ้างไหม
  2. top เพื่อดู process ที่กำลังทำงานในปัจจุบัน
  3. เข้าห้อง /var/log ซึ่งมี log file ขนาดใหญ่ ๆ ทั้งนั้น Clear บ้าง หรือจะเข้าไปดูร่องรอยของผู้ใช้ก็ได้
  4. เข้าห้อง /tmp ว่ามีแฟ้มอะไรแปลกปลอมเข้ามา ให้ clear ได้
  5. ใช้ last | more เพื่อดูรายชื่อผู้ใช้ล่าสุด ถ้าอยู่ๆ last เหลือนิดเดียว .. แสดงว่า hacker เข้ามาลบร่องรอย
  6. find / -cmin -600 | more แสดงชื่อแฟ้มที่มีการเปลี่ยนแปลงใน 10 ชั่วโมงที่ผ่านมา ในทุก Directory แต่จะออกมามากไปหน่อย ต้องค่อย ๆ ดู หรือตัด / แล้วทำเฉพาะในห้องที่สงสัยก็ได้
  7. cat /var/log/messages |grep login|more ดูว่ามีคนแปลกหน้า Login หรือพยายามเข้ามาหรือไม่ แต่อาจไม่ได้ผล ถ้า hacker มืออาชีพเขาจะลบแฟ้มนี้ทิ้ง ก่อนออกไป
  8. backup harddisk ด้วย #dd if=/dev/hda1 of=dev/hdc1 เป็นต้น แต่ต้องใช้ fdisk -l ตรวจสอบให้ดีก่อน
    9.99.3 อบรมบุคลากร
    คำสั่งเบื้องต้น 1 (ดูแฟ้ม ดูห้อง ดูผู้ใช้)
  1. ls -al (list directory contents)
  2. man ls ( -t คือ อะไร)
  3. ls -alt | more
  4. chmod 755 x.htm -Rf
  5. chown root:mail noriko -Rf
  6. find / -name hello.pl
  7. ls > x.htm
  8. cat x.htm (concatenate files and print on the standard output)
  9. cat /etc/passwd |grep home
  10. rm x
  11. mkdir img
  12. cd ..
  13. rmdir img
  14. pwd (print name of current/working directory)
  15. echo $PATH
  16. PATH=$PATH:/sbin:/usr/sbin
  17. whereis man ( locate the binary, source, and manual page files for a command)
  18. w (Show who is logged on and what they are doing)
  19. who (show who is logged on)
  20. id (print real and effective UIDs and GIDs)
  21. finger atichart (user information lookup program)
  22. last (show listing of last logged in users)
  23. exit
  24. tail --lines=5 /var/log/messages
  25. lynx http://www.yonok.ac.th/main/intro4.htm
    คำสั่งเบื้องต้น 2 (ดูระบบ)
  26. du (ดูขนาด estimate file space usage)
  27. df (ดูระบบแฟ้ม report filesystem disk space usage)
  28. /sbin/service --status-all
  29. /sbin/ifconfig (configure a network interface (LAN Card))
  30. netstat -a (Print network connections, routing tables, interface statistics, ..)
  31. top (display Linux tasks)
  32. env (run a program in a modified environment)
  33. nslookup 202.28.18.65 ( query Internet name servers interactively)
  34. ps -aux (report a snapshot of the current processes)
  35. kill -9 12345 ( terminate a process)
  36. traceroute www.thaiall.com (print the route packets take to network host)
  37. vi (a programmers text editor)
    ทบทวน เบื้องต้น
  38. mkdir public_html
  39. chmod 775 public_html
  40. vi index.html
  41. cat index.html |grep @
  42. pico x.htm
    คำสั่งระดับกลาง
  43. fsck /
  44. shutdown -h now
  45. reboot
  46. runlevel
  47. cat /etc/inittab
  48. chkconfig --list
  49. mount /dev/cdrom
  50. mkbootdisk --device /dev/fd0 2.4.18-14
  51. su bcom302
  52. crontab -l
  53. date 04271340
  54. hwclock --systohc
  55. cp /hd/home/* /home -fr
  56. nmap -sT www.yonok.ac.th (Network exploration tool and security scanner)
  57. rpm -i imap-4.7-5.i386.rpm
ตารางเปรียบเทียบแอพพลิเคชันชนิดเดียวกัน ระหว่าง Linux และ Windows server
Software typeLinuxWindows server
ฐานข้อมูลMySQL, Postgres, Informix SE, OracleMS SQL server, Oracle, MS Access
พร็อกซีเซิร์ฟเวอร์SquidMS Proxy server
ไฟล์เซิร็ฟเวอร์Samba, NFSMS Network
เว็บเซิร์ฟเวอร์ApacheIIS, Tomcat, Omni
ออฟฟิศStarOffice, Office TLEMS Office
กราฟิกGimpAdobe Photoshop
ขอบซ้ายขอบบน
สารบัญ
กรณีศึกษาจาก Redhat 6.2 -> Fedora Core 4 -> Android 4.01
บทที่ 1 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
    1.1 คำสั่ง ls : แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่น ๆ ที่ต้องการ 1.2 คำสั่ง chmod : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute 1.3 คำสั่ง man : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual) 1.4 คำสั่ง mkdir, rmdir, cd : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ 1.5 คำสั่ง pico : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด 1.6 คำสั่ง emacs : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย 1.7 คำสั่ง vi : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด 1.8 คำสั่ง id, finger, who, w : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง 1.9 คำสั่ง cat : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS 1.10 คำสั่ง ifconfig : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server 1.11 คำสั่ง netstat : แสดงสถานะของเครือข่าย 1.12 คำสั่ง service : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ 1.13 คำสั่ง xinetd : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd 1.14 คำสั่ง whereis : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด 1.15 คำสั่ง cp, rm, mv : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย 1.16 คำสั่ง ping : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet 1.17 คำสั่ง env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน 1.18 คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ 1.19 คำสั่ง nslookup : แสดงข้อมูลเกี่ยวกับ name server จาก ip หรือ domain name 1.20 คำสั่ง tail : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม 1.21 คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
บทที่ 2 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command) เพื่อต้องการตรวจสอบระบบ
    2.1 คำสั่ง df : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป 2.2 คำสั่ง du : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory 2.3 คำสั่ง ps : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง 2.4 คำสั่ง kill : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่ 2.5 คำสั่ง find : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้ 2.6 คำสั่ง gzip : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz 2.7 คำสั่ง tar : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar 2.8 คำสั่ง last : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต 2.9 คำสั่ง grep : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด 2.10 คำสั่ง date, hwclock : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน 2.11 คำสั่ง top : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา 2.12 คำสั่ง ntsysv และ setup : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp 2.13 คำสั่ง route : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง 2.14 คำสั่ง shutdown, reboot : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี 2.15 คำสั่ง runlevel : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab 2.16 คำสั่ง fsck : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux 2.17 คำสั่ง chown, chgrp : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม 2.18 คำสั่ง chkconfig : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง 2.19 คำสั่ง mount, umount : เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive 2.20 คำสั่ง mkbootdisk : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง 2.21 คำสั่ง traceroute : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ 2.22 คำสั่ง rpm : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด 2.23 คำสั่ง su : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ 2.24 คำสั่ง useradd : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ 2.25 คำสั่ง userdel : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ 2.26 คำสั่ง usermod : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้ 2.27 คำสั่ง crontab : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ 2.28 คำสั่ง lspci : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง 2.29 คำสั่ง nmap : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C .
บทที่ 3 : บทเรียน PERL บทที่ 4 : บทเรียน PHP บทที่ 5 : บทเรียน MYSQL บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ บทที่ 7 : การใช้ application บทที่ 8 : ระบบ file และ directory บทที่ 9 : การบริหารระบบ โดย Super User
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
"Imagination is more important than knowledge" - Albert Einstein
Home
Thaiabc.com
Thainame.net
Lampang.net
Nation university
PHP
MySQL
Visual basic.NET
TabletPC
Linux
Online quiz
Download
Search engine
Web ranking
Add website
Blog : Education
Blog : ACLA
Blog : Lampang
Facebook.com
Twitter.com
About us
My dream
Site map
Sponsor