ลีนุกซ์ (Linux)
Home  Contents KMArticlesMembersSponsorsAbout us

ปรับปรุง : 2556-10-06 (ปรับเป็นรุ่น 3)
ขอบซ้ายขอบบน
Linux : 0701
:: กลับหน้าแรก :: แสดงเนื้อหาทั้งหมด ::

7.1 วิธีใช้โปรแกรม FTP ส่งแฟ้มเข้าเครื่อง isinthai.com
: file transfer protocal สำหรับนำแฟ้มใน Pc ส่งเข้าเครื่อง server isinthai.com ซึ่ง server ตั้งอยู่ที่วิทยาลัยโยนก เมื่อส่งเข้าแล้ว จะทำให้คนทั่วโลกสามารถเปิดข้อมูลที่ท่านส่งเข้ามาได้ แต่ถ้าไม่ส่ง ท่านจะเป็นผู้เดียวที่เห็นข้อมูลของท่าน และวิธีที่ผมใช้เป็นวิธีพื้นฐานที่ windows ทุกเครื่องทำได้ แต่ถ้าเป็นมืออาชีพ เขาจะไปใช้ ws_ftp หรือ cute_ftp เพราะทำงานแบบ graphic ซึ่งผมไม่แนะนำสำหรับมือสมัครเล่น เพราะจะต้องไป download โปรแกรมมายุ่งยาก วิธีที่ผมจะเสนอ ปกติใช้ได้กับทุกเครื่อง ท่านสามารถพิมพ์ตามนี้ได้เลย
การใช้คำสั่ง ftp -i www.hypermart.net จะทำให้ใช้ mput หรือ mget โดยไม่ขึ้น prompt ถามแต่ละแฟ้ม ทำให้ upload หรือ download รวดเดียวได้แฟ้มทั้งหมด
    รูปแบบคำสั่งของ FTP ใน DOS
    FTP [-v] [-d] [-i] [-n] [-g] [-s:filename] [-a] [-w:windowsize] [-A] [host]
      -v             Suppresses display of remote server responses.
      -n             Suppresses auto-login upon initial connection.
      -i             Turns off interactive prompting during multiple file transfers.
      -d             Enables debugging.
      -g             Disables filename globbing (see GLOB command).
      -s:filename    Specifies a text file containing FTP commands
      -a             Use any local interface when binding data connection.
      -A             login as anonymous.
      -w:buffersize  Overrides the default transfer buffer size of 4096.
      host           Specifies the host name or IP address of the remote host to connect to.
    
      สิ่งที่ต้องเตรียมการก่อนปฏิบัติ
    1. มี host name ที่อนุญาต และไปสมัครไว้แล้ว ทราบชื่อ host ที่ยอมให้ upload เช่น www.isinthai.com
    2. มี username ในตัวอย่างนี้ใช้ demo
    3. มี password ในตัวอย่างนี้ใช้ istest
    4. มีแฟ้มข้อมูลที่เป็น text เช่น index.html, friend.htm
    5. มีแฟ้มข้อมูลที่ไม่เป็น text เช่น face.jpg, hello.gif, wow.doc
    6. มีข้อมูลทั้งหมดเตรียมไว้ในแผ่น diskette เช่น drive A
    7. ถ้างง ไปอ่านเพิ่มที่ http://www.thaiall.com/learn/useftp.htm
    เปิด msdos และ cd c:\windows (ถ้ามีแฟ้มใน server ต้องการ copy ออกมาก็ให้ใช้ get)
    C:\WINDOWS>ftp.exe
    ftp> open www.isinthai.com
    Connected to www.isinthai.com.
    220 www.isinthai.com FTP server (Version wu-2.6.0(1) Fri Jun 23 09:17:44 EDT 2000
    0) ready.
    User (www.isinthai.com:(none)): demo
    331 Password required for demo.
    Password:
    230 User demo logged in.
    ftp> lcd c:\isinthai
    Local directory now C:\isinthai
    ftp> ascii
    200 Type set to A.
    ftp> hash
    Hash mark printing On (2048 bytes/hash mark).
    ftp> put index.html
    200 PORT command successful.
    150 Opening ASCII mode data connection for index.html.
    ########################################
    226 Transfer complete.
    162886 bytes sent in 0.39 seconds (417.66 Kbytes/sec)
    ftp> lcd a:\
    ftp> ascii
    ftp> put index.html
    ftp> put friend.htm
    ftp> bin
    ftp> put face.jpg
    ftp> put hello.gif
    ftp> put wow.doc
    ftp> bye
    221-You have transferred 1601416xx bytes in 6 files.
    221-Total traffic for this session was 160563xx bytes in 6 transfers.
    

ขอบซ้ายขอบบน
สารบัญ
กรณีศึกษาจาก Redhat 6.2 -> Fedora Core 4 -> Android 4.01
บทที่ 1 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
    1.1 คำสั่ง ls : แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่น ๆ ที่ต้องการ 1.2 คำสั่ง chmod : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute 1.3 คำสั่ง man : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual) 1.4 คำสั่ง mkdir, rmdir, cd : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ 1.5 คำสั่ง pico : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด 1.6 คำสั่ง emacs : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย 1.7 คำสั่ง vi : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด 1.8 คำสั่ง id, finger, who, w : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง 1.9 คำสั่ง cat : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS 1.10 คำสั่ง ifconfig : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server 1.11 คำสั่ง netstat : แสดงสถานะของเครือข่าย 1.12 คำสั่ง service : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ 1.13 คำสั่ง xinetd : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd 1.14 คำสั่ง whereis : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด 1.15 คำสั่ง cp, rm, mv : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย 1.16 คำสั่ง ping : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet 1.17 คำสั่ง env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน 1.18 คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ 1.19 คำสั่ง nslookup : แสดงข้อมูลเกี่ยวกับ name server จาก ip หรือ domain name 1.20 คำสั่ง tail : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม 1.21 คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
บทที่ 2 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command) เพื่อต้องการตรวจสอบระบบ
    2.1 คำสั่ง df : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป 2.2 คำสั่ง du : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory 2.3 คำสั่ง ps : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง 2.4 คำสั่ง kill : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่ 2.5 คำสั่ง find : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้ 2.6 คำสั่ง gzip : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz 2.7 คำสั่ง tar : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar 2.8 คำสั่ง last : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต 2.9 คำสั่ง grep : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด 2.10 คำสั่ง date, hwclock : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน 2.11 คำสั่ง top : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา 2.12 คำสั่ง ntsysv และ setup : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp 2.13 คำสั่ง route : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง 2.14 คำสั่ง shutdown, reboot : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี 2.15 คำสั่ง runlevel : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab 2.16 คำสั่ง fsck : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux 2.17 คำสั่ง chown, chgrp : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม 2.18 คำสั่ง chkconfig : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง 2.19 คำสั่ง mount, umount : เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive 2.20 คำสั่ง mkbootdisk : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง 2.21 คำสั่ง traceroute : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ 2.22 คำสั่ง rpm : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด 2.23 คำสั่ง su : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ 2.24 คำสั่ง useradd : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ 2.25 คำสั่ง userdel : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ 2.26 คำสั่ง usermod : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้ 2.27 คำสั่ง crontab : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ 2.28 คำสั่ง lspci : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง 2.29 คำสั่ง nmap : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C .
บทที่ 3 : บทเรียน PERL บทที่ 4 : บทเรียน PHP บทที่ 5 : บทเรียน MYSQL บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ บทที่ 7 : การใช้ application บทที่ 8 : ระบบ file และ directory บทที่ 9 : การบริหารระบบ โดย Super User
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
"Imagination is more important than knowledge" - Albert Einstein
Home
Thaiabc.com
Thainame.net
Lampang.net
Nation university
PHP
MySQL
Visual basic.NET
TabletPC
Linux
Online quiz
Download
Search engine
Web ranking
Add website
Blog : Education
Blog : ACLA
Blog : Lampang
Facebook.com
Twitter.com
About us
My dream
Site map
Sponsor